|
ลำดับ |
ปี |
ประเภท |
ชื่อ |
1 |
2566 |
บทความวิจัย |
องค์ประกอบของวรรณกรรมวายในการนำเสนอปัญหาความรัก จากวรรณกรรมเรื่อง คุณหมีปาฏิหาริย์ |
การอ้างอิง |
นนทชัย ชูวรรณรักษ์, พัชลินจ์ จีนนุ่น และปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์. (2566). “องค์ประกอบของวรรณกรรมวายในการนำเสนอปัญหาความรัก จากวรรณกรรมเรื่อง คุณหมีปาฏิหาริย์.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปีที่ 23(1) : 91-117. |
2 |
2565 |
การนำเสนอผลงาน |
อาการ อารมณ์ และความทรงจำจากการถวิลหาอดีตในเรื่องสั้นไทยร่วมสมัยตั้งแต่ พ.ศ. 2557 – 2562 |
การอ้างอิง |
ภูริณัฐ พฤกษ์เนรมิตร พัชลินจ์ จีนนุ่น ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์. (2565). “อาการ อารมณ์ และความทรงจำจากการถวิลหาอดีตในเรื่องสั้นไทยร่วมสมัยตั้งแต่ พ.ศ. 2557 – 2562. ในงานสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 21 “Making Sense of the Worlds : วิธีวิทยาของการประกอบสร้างโลกที่เราอยู่” (หน้า 316-343). วันที่ 16 - 17 มิถุนายน 2565 (รูปแบบออนไลน์) ณ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
3 |
2565 |
การนำเสนอผลงาน |
แนวคิดการเรียนรู้เพื่อบรรลุศาสตร์ต่าง ๆ และเป้าหมายแห่งชีวิต |
การอ้างอิง |
ทัศศิยาภรณ์ สุขสง, ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์ และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2565). “แนวคิดการเรียนรู้เพื่อบรรลุศาสตร์ต่าง ๆ และเป้าหมายแห่งชีวิต.” ในงานสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 21 “Making Sense of the Worlds : วิธีวิทยาของการประกอบสร้างโลกที่เราอยู่” (หน้า 447-470). วันที่ 16 - 17 มิถุนายน 2565 (รูปแบบออนไลน์) ณ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
4 |
2563 |
บทความวิจัย |
ความขัดแย้งในวรรณกรรมเยาวชนรางวัลแว่นแก้ว ระหว่างปี พ.ศ. 2544 – 2561 |
การอ้างอิง |
ณัฐธิดา วิริยะสัทธา, ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์ และ สมิทธ์ชาต์ พุมมา. (2563). “ความขัดแย้งในวรรณกรรมเยาวชนรางวัลแว่นแก้ว ระหว่างปี พ.ศ. 2544 – 2561.” ใน รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ เทคโนโลยีภาคใต้วิจัย ครั้งที่ 11 ประจำปีการศึกษา 2563 (หน้า JO29-JO37) วันที่ 19 ก.พ.63 ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช. |
5 |
2563 |
บทความวิจัย |
ภาพลักษณ์ส่วนบุคคลของตัวละครชายรักชายในนวนิยายวาย |
การอ้างอิง |
จิราพร สอนนำ, พัชลินจ์ จีนนุ่น และ ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์. (2563). “ภาพลักษณ์ส่วนบุคคลของตัวละครชายรักชายในนวนิยายวาย.” ใน รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ เทคโนโลยีภาคใต้วิจัย ครั้งที่ 11 ประจำปีการศึกษา 2563 (หน้า JO49-JO58) วันที่ 19 ก.พ.63 ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช. |
6 |
2563 |
บทความวิจัย |
การใช้ภาษาจากวรรณกรรมเพลงบอก อำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช (พ.ศ. 2548-2562) |
การอ้างอิง |
รัชฎากร ชูจันทร์ทอง, พรพันธุ์ เขมคุณาศัย และ ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์. (2563). “การใช้ภาษาจากวรรณกรรมเพลงบอก อำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช (พ.ศ. 2548-2562).” ” ใน รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ เทคโนโลยีภาคใต้วิจัย ครั้งที่ 11 ประจำปีการศึกษา 2563 (หน้า J20-JO28) วันที่ 19 ก.พ.63 ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ จังหวัดนครศรีธรรมราช. |
7 |
2563 |
บทความวิจัย |
ภาษา ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและสภาพสังคมวัฒนธรรม ภาพสะท้อนจากภูมินามหมู่บ้านในจังหวัดสตูล |
การอ้างอิง |
สุพล จินตเมฆา, พัชลินจ์ จีนนุ่น และปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์. (2563). “ภาษา ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและสภาพสังคมวัฒนธรรม ภาพสะท้อนจากภูมินามหมู่บ้านในจังหวัดสตูล.” วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ปีที่ 10 (2) : 188-198. |
8 |
2563 |
เอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน |
วรรณรรมท้องถิ่น |
การอ้างอิง |
ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์. (2563). วรรณกรรมท้องถิ่น. เอกสารประกอบการสอน สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ |
9 |
2562 |
งานวิจัย |
การดำรงอยู่และการสืบสานตำนานโนราในกลุ่มคนไทย-สยามในภาคใต้ของประเทศไทยและในประเทศมาเลเซีย. |
การอ้างอิง |
ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์ วราเมษ วัฒนไชย และจารึก จันทร์วงศ์. (2562). การดำรงอยู่และการสืบสานตำนานโนราในกลุ่มคนไทย-สยามในภาคใต้ของประเทศไทยและในประเทศมาเลเซีย. งบประมาณรายได้ประจำปี 2559 มหาวิทยาลัยทักษิณ. (รายงานการวิจัย) |
10 |
2561 |
งานวิจัย |
การส่งต่อภูมิปัญญาท้องถิ่น “ภูมิปัญญาดูซง” สู่เยาวชนในครอบครัว การศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้. |
การอ้างอิง |
พรพันธุ์ เขมคุณาศัย, ฉันทัส ทองช่วย, จริญญา ธรรมโชโต, ประภัสสร ภัทรนาวิก และปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์. (2561). การส่งต่อภูมิปัญญาท้องถิ่น “ภูมิปัญญาดูซง” สู่เยาวชนในครอบครัว การศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง. |
11 |
2560 |
บทความวิจัย |
The Origin Myth of Nora: A Comparative Study of Southern Thailand and Malaysian Versions |
การอ้างอิง |
Preeyarat Chaowalitprapan. (2017). “The Origin Myth of Nora: A Comparative Study of Southern Thailand and Malaysian Versions.” presented on 13th International Conference on Thai Studies Globalized Thailand? Connectivity, Conflicts and Conundrums of Thai Studies 15-18 July 2017, Chiang Mai, Thailand. (p. 130-143) |
12 |
2559 |
บทความวิจัย |
‘รับเทวดา’ : ประเพณีขึ้นปีใหม่ของชาวสยามในประเทศมาเลเซีย |
การอ้างอิง |
ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์. (2559). “ ‘รับเทวดา’ : ประเพณีขึ้นปีใหม่ของชาวสยามในประเทศมาเลเซีย,” ปาริชาต. 29(2),
217-230. |
13 |
2559 |
บทความวิจัย |
Nora Rong Khru Ritual : Roles of the Ritual in the Context of Ban Plairamai, a Siamese village in Kedah, Malaysia |
การอ้างอิง |
Preeyarat Chaowalitprapan. (2016) “Nora Rong Khru Ritual : Roles of the Ritual in the Context of Ban Plairamai, a Siamese village in Kedah, Malaysia.” Rian Thai. Vol 9 : 150-168. |
14 |
2558 |
บทความวิจัย |
โนราโรงครูบ้านปลายระไม รัฐเคดาห์ (ไทรบุรี) ประเทศมาเลเซีย : ลักษณะเด่นและบทบาทสำคัญ |
การอ้างอิง |
ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์. (2558). “โนราโรงครูบ้านปลายระไม รัฐเคดาห์ (ไทรบุรี) ประเทศมาเลเซีย : ลักษณะเด่นและบทบาทสำคัญ.” วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. ปีที่ 7 (2) (พฤษภาคม – สิงหาคม 2558) : 161-191. |
15 |
2552 |
การนำเสนอผลงาน |
Unusual Wives in Thai Tales |
การอ้างอิง |
Preeyarat Chaowalitprapan. (2009). “Unusual Wives in Thai Tales.” presented on International Conference on Asian Folklore 2-3 July 2009, Bangkok, Thailand. |
16 |
2551 |
บทความวิชาการ |
การศึกษานิทานของบัวไรในฐานะนิทานอธิบายเหตุสมัยใหม่ |
การอ้างอิง |
ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์. (2550-2551). “การศึกษานิทานของบัวไรในฐานะนิทานอธิบายเหตุสมัยใหม่.”วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. ปีที่ 2 (2) (ตุลาคม 2550-มีนาคม 2551) : 119-145. |
17 |
2549 |
หนังสือ |
การสมพาสที่ผิดธรรมชาติในนิทานไทย : การศึกษาอนุภาคทางคติชนวิทยา |
การอ้างอิง |
ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์. (2549). การสมพาสที่ผิดธรรมชาติในนิทานไทย : การศึกษาอนุภาคทางคติชนวิทยา. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |