7.1 ผลลัพธ์ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน และด้านกระบวนการ หน่วยวัด คะแนนเต็ม ปีการศึกษา
ก. ผลลัพธ์ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนและด้านบริการที่มุ่งเน้นลูกค้า 2562 2563 2564 2565 2566 2567 แนวโน้ม
1 010 นิสิตและบัณฑิตที่เป็นผู้ประกอบการหรือที่มีผลงานด้านนวัตกรรมสังคม (กลุ่ม 2) TSU 09 ร้อยละ   N/A 0.92 1.12 1.41 2.13  
2 020 รางวัลด้านผู้ประกอบการ (Startup Awards) หรือด้านนวัตกรรมสังคมของนิสิตและบัณฑิต (กลุ่ม 2) TSU 07 ร้อยละ    
3 030 ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ระดับ   N/A N/A N/A 4.28 4.17  
4 040 ร้อยละบัณฑิตปริญญาตรีที่มีงานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายในระยะเวลา 1 ปี TSU 08 ร้อยละ   N/A N/A N/A 67.09 68.10  
5 050 หลักสูตรที่มีความร่วมมือทางวิชาการกับหน่วยงานภายนอก ร้อยละ    
6 060 ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่เผยแพร่ในระดับชาติ TSU 11 (1) ร้อยละ    
7 070 ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่อ้างอิงในระดับนานาชาติ TSU 11 (2) ร้อยละ    
8 080 ร้อยละของหลักสูตรที่มีรายวิชาเรียนรู้ในชุมชนหรือปฏิบัติงานในชุมชน (เฉพาะหลักสูตร ป.ตรี) ร้อยละ    
9 090 ผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ก่อให้เกิดนวัตกรรมสังคม ร้อยละ    
10 100 โครงการบริการวิชาการหรือการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่ก่อให้เกิดนวัตกรรมสังคมหรือการเป็นผู้ประกอบการ โครงการ    
11 110 ร้อยละผลงานวิชาการและงานสร้างสรรค์ของนิสิตระดับปริญญาตรีที่ได้รับการเผยแพร่ ระดับชาติ และ/หรือนานาชาติ ร้อยละ    
12 120 ร้อยละของนิสิตที่มีรายวิชาเรียนรู้ในชุมชน ร้อยละ    
13 130 จำนวนนวัตกรรมสังคมที่เกิดจากความร่วมมือระหว่างชุมชน องค์กรภาครัฐ ภาคธุรกิจ หรือภาคเอกชน ด้านบริการวิชาการ นวัตกรรม    
14 140 จำนวนเครือข่ายความร่วมมือกับภาคธุรกิจหรือภาคเอกชนในการผลิตบัณฑิต เครือข่าย    
15 150 ร้อยละอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนวิจัยภายนอกต่ออาจารย์ทั้งหมด ร้อยละ    
16 160 จำนวนผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์ หรือผลงานบริการวิชาการด้านศิลปะ วัฒนธรรม และภูมิปัญญาที่มีคุณค่าหรือมูลค่า ร้อยละ    
17 170 จำนวนความร่วมมือกับชุมชน องค์กรภาคธุรกิจหรือภาคเอกชน ก่อให้เกิดนวัตกรรมสังคม ความร่วมมือ    
18 180 จำนวนกิจกรรมที่จัดสนับสนุนและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนที่สำคัญของคณะฯ กิจกรรม   0  
19 190 จำนวนนิสิตแลกเปลี่ยน/นิสิตสหกิจศึกษาและฝึกงานกับมหาวิทยาลัยและหน่วยงานในและต่างประเทศ คน    
20 200 จำนวนนิสิตแลกเปลี่ยน/นิสิตสหกิจศึกษาและฝึกงานในประเทศ คน    
21 210 จำนวนนิสิตแลกเปลี่ยน/นิสิตสหกิจศึกษาและฝึกงานต่างประเทศ คน   18  
22 220 ร้อยละผลงานวิชาการของนิสิตที่ได้รับรางวัลในระดับนานาชาติ ร้อยละ    
23 230 ร้อยละของจำนวนผู้เรียนที่มีการเทียบโอนรายวิชาในระบบคลังหน่วยกิต ร้อยละ    
24 240 ผู้เรียนที่ผ่านการประเมินสมรรถนะด้านภาษาอังกฤษ TSU06 (1) ร้อยละ    
25 250 ผู้เรียนที่ผ่านการประเมินสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ร้อยละ    
26 260 จำนวนนิสิตแลกเปลี่ยนกับต่างประเทศ TSU 27 (2) คน    
7.1 ผลลัพธ์ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน และด้านกระบวนการ หน่วยวัด คะแนนเต็ม ปีการศึกษา
ข. ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลของกระบวนการทำงาน 2562 2563 2564 2565 2566 2567 แนวโน้ม
(1) ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของกระบวนการ
27 010 ร้อยละของหลักสูตรบูรณาการข้ามศาสตร์เพื่อสร้างนวัตกรรมสังคมและผู้ประกอบการ ร้อยละ   N/A N/A N/A 6.67 16.67 25  
28 020 ชุมชน/พื้นที่/หน่วยงาน ที่ได้รับประโยชน์จากการบริการวิชาการเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าและบริการ ชุมชน    
29 030 ร้อยละของนิสิตระดับปริญญาตรีที่สอบผ่านสมรรถนะภาษาอังกฤษตามที่คณะฯ กำหนด ร้อยละ    
30 040 ระดับความพึงพอใจของนิสิตต่อการสอนของอาจารย์ ระดับ    
31 050 นักวิจัยที่ได้รับการยกระดับสมรรถนะด้านการวิจัย (ด้านการสร้างนวัตกรรมสังคม) TSU10 ร้อยละ    
32 060 จำนวนคอร์สออนไลน์ที่เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาในหลักสูตรประกาศนียบัตร TSU03 คอร์ส    
7.1 ผลลัพธ์ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน และด้านกระบวนการ หน่วยวัด คะแนนเต็ม ปีการศึกษา
ข. ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลของกระบวนการทำงาน 2562 2563 2564 2565 2566 2567 แนวโน้ม
(2) ความปลอดภัยและการเตรียมพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน
33 010 จำนวนบุคลากรที่ได้รับการอบรมด้านมาตรฐานและความปลอดภัย (การซ้อมภาวะฉุกเฉิน) คน   N/A 20 25 33 35 0  
34 020 จำนวนการเกิดอัคคีภัย ครั้ง   0 0 0 0 0 0  
35 030 ร้อยละของอุปกรณ์ด้านความปลอดภัยที่พร้อมใช้งาน ร้อยละ   100 100 100 100 100 100  
36 040 ร้อยละของจำนวนครั้งของการตรวจอุปกรณ์ตามแผน ร้อยละ   90 100 90 100 100 100  
7.1 ผลลัพธ์ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน และด้านกระบวนการ หน่วยวัด คะแนนเต็ม ปีการศึกษา
ค. ผลลัพธ์ด้านการจัดการเครือข่ายอุปทาน 2562 2563 2564 2565 2566 2567 แนวโน้ม
37 010 ความร่วมมือเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมกับภาค ธุรกิจ/อุตสาหกรรมของมหาวิทยาลัย/ส่วนงาน (กลุ่ม 2) (TSU22) ความร่วมมือ    
38 020 จำนวนสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษา/ฝึกงาน หน่วยงาน    
39 030 ระดับความพึงพอใจของ Supplier ต่อการให้บริการด้านพัสดุ (ค่าคะแนน) ระดับ    
40 040 ร้อยละของการสั่งซื้อ/จัดจ้าง ที่แล้วเสร็จในระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละ    
41 050 ร้อยละของการส่งมอบพัสดุ/งาน ตามกำหนดเวลา / ตามข้อกำหนด TOR ร้อยละ    
42 060 จำนวนข้อร้องเรียนในการจัดหาพัสด ครั้ง    
43 070 ร้อยละของข้อร้องเรียนที่ได้รับการจัดการ ร้อยละ    
44 080 จำนวนข้อผิดพลาดของงานพัสดุ จากการตรวจสอบของตรวจสอบภายในมหาวิทยาลัยหรือสตง. ครั้ง    
7.2 ผลลัพธ์ด้านลูกค้า หน่วยวัด คะแนนเต็ม ปีการศึกษา
ก ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นผู้เรียนและลูกค้ากลุ่มอื่น 2562 2563 2564 2565 2566 2567 แนวโน้ม
(1) ความพึงพอใจของผู้เรียนและลูกค้ากลุ่มอื่น
45 010 ระดับความพึงพอใจของผู้ให้ทุนวิจัย ระดับ    
46 020 ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการวิชาการ ระดับ   N/A 4.125  
47 030 ความพึงพอใจและไม่พึงพอใจของนิสิตปีสุดท้ายต่อคุณภาพหลักสูตร ระดับ    
48 040 ระดับความพึงพอใจของนิสิตต่อการให้บริการของคณะฯ ระดับ    
49 050 ความพึงพอใจของนิสิตต่อหลักสูตร ระดับ    
50 060 ความพึงพอใจของนิสิตต่อการจัดการเรียนการสอน ระดับ    
51 070 ความพึงพอใจของนิสิตต่อระบบสนับสนุน ระดับ    
52 080 ความพึงพอใจของนักเรียนต่อช่องทางการติดต่อสื่อสาร ระดับ    
53 090 ความพึงพอใจของบัณฑิตต่อหลักสูตรปริญญาตรี ระดับ    
54 100 ความพึงพอใจของบัณฑิตต่อหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ระดับ    
55 110 ความพึงพอใจของผู้บังคับบัญชา/นายจ้างที่มีต่อหลักสูตรปริญญาตรี ระดับ   N/A N/A N/A 4.28 4.17  
56 120 ความพึงพอใจของนิสิตต่อกิจกรรมเสริมหลักสูตร ระดับ    
7.2 ผลลัพธ์ด้านลูกค้า หน่วยวัด คะแนนเต็ม ปีการศึกษา
ก ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นผู้เรียนและลูกค้ากลุ่มอื่น 2562 2563 2564 2565 2566 2567 แนวโน้ม
(2) ความผูกพันของผู้เรียนและลูกค้ากลุ่มอื่น
57 010 ระดับความผูกพันของนิสิต ระดับ    
58 020 ระดับความผูกพันของผู้รับบริการวิชาการ ระดับ   N/A  
59 030 ระดับความผูกพันของผู้ให้ทุนวิจัย ระดับ    
7.3 ผลลัพธ์ด้านบุคลากร หน่วยวัด คะแนนเต็ม ปีการศึกษา
ก ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร 2562 2563 2564 2565 2566 2567 แนวโน้ม
(1) ขีดความสามารถและอัตรากำลังบุคลากร
60 010 ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาเอก ร้อยละ   60.61  
61 020 ร้อยละของอาจารย์ที่มีตำแหน่งทางวิชาการ ร้อยละ   34.34  
62 030 ค่าเฉลี่ยการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสายคณาจารย์ ระดับ    
63 040 ค่าเฉลี่ยการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุน ระดับ    
64 050 ร้อยละของบุคลากรสายสนับสนุนที่ผ่านการสอบ ICT ระดับ 1 ร้อยละ   N/A N/A 100 100 100 100  
65 060 ร้อยละของบุคลากรสายสนับสนุนที่ผ่านการสอบ ICT ระดับ 2 ร้อยละ   N/A N/A N/A N/A 80.95  
66 070 ลูกจ้างมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนสอบผ่านความรู้ทั่วไปคะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ร้อยละ   N/A N/A 88.89  
67 080 ลูกจ้างมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนสอบผ่านความรู้ทั่วไปคะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ร้อยละ   N/A N/A 55.56  
68 090 บุคลากรของมหาวิทยาลัยแลกเปลี่ยนความรู้สู่ภาคธุรกิจ/อุตสาหกรรม (TSU 21) ร้อยละ    
69 100 ร้อยละอาจารย์ที่ได้รับรางวัลในระดับนานาชาติ (TSU 28) (TSU34 (2)) ร้อยละ    
70 110 ร้อยละของอาจารย์ที่ได้รับรางวัลในระดับชาติ (TSU34 (1)) ร้อยละ    
71 120 จำนวนนวัตกรรมการจัดการศึกษา (TSU02) ผลงาน    
72 130 ร้อยละอาจารย์ที่ได้รับการรับรองสมรรถนะวิชาชีพด้านการเรียนการสอนตามเกณฑ์ Thailand PSF (TSU05) ร้อยละ   N/A N/A N/A N/A 3.06 9.09  
73 140 ร้อยละของหลักสูตรที่อาจารย์เป็นไปตามกรอบมาตรฐานการเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตร ร้อยละ   100 100 100 100 100 100  
74 150 จำนวนของบุคลากรสายสนับสนุนที่มีตำแหน่งชำนาญการ คน   3 3 3 3 3 3  
7.3 ผลลัพธ์ด้านบุคลากร หน่วยวัด คะแนนเต็ม ปีการศึกษา
ก ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร 2562 2563 2564 2565 2566 2567 แนวโน้ม
(2) บรรยากาศการทำงาน
75 010 ระดับความพึงพอใจระบบสารสนเทศที่สนับสนุนการปฏิบัติงาน ระดับ    
76 020 ความพึงพอใจของบุคลากรสายวิชาการต่อบรรยากาศและ สภาพแวดล้อมในการทำงาน ระดับ    
77 030 ความพึงพอใจของบุคลากรสายสนับสนุนต่อบรรยากาศและ สภาพแวดล้อมในการทำงาน ระดับ    
78 040 ความพึงพอใจของบุคลากรสายวิชาการต่อสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ ระดับ    
79 050 ความพึงพอใจของบุคลากรสายสนับสนุนต่อสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ ระดับ    
80 060 ความพึงพอใจของบุคลากรสายสนับสนุนต่อระบบรักษาความปลอดภัย ระดับ   N/A 4.00 4.08 4.13 4.18 4.23  
81 070 ความพึงพอใจของบุคลากรสายวิชาการต่อระบบรักษาความปลอดภัย ระดับ   N/A 3.67 3.75 3.83 3.88 4.01  
7.3 ผลลัพธ์ด้านบุคลากร หน่วยวัด คะแนนเต็ม ปีการศึกษา
ก ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร 2562 2563 2564 2565 2566 2567 แนวโน้ม
(3) ความผูกพันของบุคลากร
82 010 ความผูกพันของบุคลากรสายวิชาการ (TSU 32) ระดับ    
83 020 ความผูกพันของบุคลากรสายสนับสนุน (TSU 32) ระดับ    
84 030 อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสายวิชาการ(ลาออก) ร้อยละ    
85 040 อัตราการคงอยู่ของบุคลากรสายสนับสนุน ร้อยละ    
86 050 ดัชนีความสุขของบุคลากร ระดับ   76.61 83.87 75.59 83.61 71.07  
7.3 ผลลัพธ์ด้านบุคลากร หน่วยวัด คะแนนเต็ม ปีการศึกษา
ก ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร 2562 2563 2564 2565 2566 2567 แนวโน้ม
(4) การพัฒนาบุคลากร
87 010 ร้อยละของบุคลากรสายวิชาการที่ได้รับการพัฒนาตนเอง ร้อยละ   100  
88 020 ร้อยละของบุคลากรสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาตนเอง ร้อยละ   100  
89 030 ร้อยละของบุคลากรสายวิชาการที่เข้าร่วมประชุมวิชาการ และ/หรือนำเสนอผลงานวิชาการทั้งในและต่างประเทศ ร้อยละ    
90 040 จำนวนผู้บริหารที่ได้รับการพัฒนาสู่การเป็นผู้นำองค์กร ร้อยละ    
91 050 งบประมาณพัฒนาบุคลากรสายวิชาการต่อคน (บาท) บาท   15000 15000  
92 060 งบประมาณพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนต่อคน (บาท) บาท   15000 15000  
93 070 ร้อยละผู้บริหารที่ได้รับการพัฒนาสู่การเป็นผู้นำองค์กร ร้อยละ    
7.4 ผลลัพธ์ด้านการนำ องค์กรและการกำกับดูแลองค์กร หน่วยวัด คะแนนเต็ม ปีการศึกษา
ก ผลลัพธ์ด้านการนำองค์กร การกำกับดูแลองค์กร กฎหมาย จริยธรรม และการสร้างประโยชน์ ให้สังคม 2562 2563 2564 2565 2566 2567 แนวโน้ม
(1) การนำองค์กร
94 010 ผลการประเมินการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการประจำคณะฯ ระดับ   4.93 4.77 4.78 4.67 4.41  
95 020 การรับรู้ข่าวสารและนำไปใช้ประโยชน์ของบุคลากร ระดับ    
96 030 ความพึงพอใจต่อช่องทางการสื่อสารของบุคลากร ระดับ    
97 040 ระดับการรับรู้และเข้าใจทิศทางการนำองค์กร ระดับ    
98 050 ประสิทธิภาพช่องทางการสื่อสาร ระดับ    
99 060 ค่าเฉลี่ยภาวะผู้นำสายวิชาการ ระดับ    
100 070 ค่าเฉลี่ยภาวะผู้นำสายสนับสนุน ระดับ    
7.4 ผลลัพธ์ด้านการนำ องค์กรและการกำกับดูแลองค์กร หน่วยวัด คะแนนเต็ม ปีการศึกษา
ก ผลลัพธ์ด้านการนำองค์กร การกำกับดูแลองค์กร กฎหมาย จริยธรรม และการสร้างประโยชน์ ให้สังคม 2562 2563 2564 2565 2566 2567 แนวโน้ม
(2) การกำกับดูแลองค์กร
101 010 ผลประเมินการปฏิบัติงานของคณบดี ระดับ    
102 020 จำนวนระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นเพื่อสนับสนุนการบริหารงานของคณะฯ ระบบ    
7.4 ผลลัพธ์ด้านการนำ องค์กรและการกำกับดูแลองค์กร หน่วยวัด คะแนนเต็ม ปีการศึกษา
ก ผลลัพธ์ด้านการนำองค์กร การกำกับดูแลองค์กร กฎหมาย จริยธรรม และการสร้างประโยชน์ ให้สังคม 2562 2563 2564 2565 2566 2567 แนวโน้ม
(3) กฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับ และการรับรองคุณภาพ
103 010 ผลการประเมินหลักสูตรตามเกณฑ์ AUN QA ระดับ    
104 020 ผลการประกันคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ EdPEx TSU 36 ระดับ    
105 030 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ TQF ตาม วงรอบ 5 ปี ร้อยละ    
106 040 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของส่วนงาน (ITA) TSU 38 ระดับ   N/A 84.43 85.87 86.95 56.83 0  
7.4 ผลลัพธ์ด้านการนำ องค์กรและการกำกับดูแลองค์กร หน่วยวัด คะแนนเต็ม ปีการศึกษา
ก ผลลัพธ์ด้านการนำองค์กร การกำกับดูแลองค์กร กฎหมาย จริยธรรม และการสร้างประโยชน์ ให้สังคม 2562 2563 2564 2565 2566 2567 แนวโน้ม
(4) จริยธรรม
107 010 จำนวนข้อทักท้วงจากหน่วยตรวจสอบภายใน ครั้ง    
108 020 จำนวนข้อทักท้วงจากสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน ครั้ง    
109 030 จำนวนเรื่องการถูกร้องเรียนด้านการบริหารงานบุคคล ครั้ง    
110 040 จำนวนเรื่องการถูกร้องเรียนกรณีทุจริตจัดซื้อจัดจ้าง ครั้ง    
111 050 จำนวนข้อร้องเรียนของนิสิต ครั้ง    
112 060 จำนวนครั้งการละเมิดจริยธรรมการวิจัย ครั้ง    
113 070 จำนวนข้อร้องเรียนที่เกิดจากการบริการวิชาการ ครั้ง    
114 080 จำนวนข้อร้องเรียนด้านธรรมาภิบาลของผู้บริหาร ครั้ง    
7.4 ผลลัพธ์ด้านการนำ องค์กรและการกำกับดูแลองค์กร หน่วยวัด คะแนนเต็ม ปีการศึกษา
ก ผลลัพธ์ด้านการนำองค์กร การกำกับดูแลองค์กร กฎหมาย จริยธรรม และการสร้างประโยชน์ ให้สังคม 2562 2563 2564 2565 2566 2567 แนวโน้ม
(5) สังคม
115 010 สินค้าและบริการในพื้นที่ที่ได้รับการสร้างมูลค่าเพิ่มจากการบริการวิชาการ ชิ้นงาน   5  
116 020 ร้อยละของโครงการบริการวิชาการที่มาจากความต้องการของสังคมต่อจำนวนโครงการบริการวิชาการทั้งหมด ร้อยละ   25  
117 030 จำนวนระบบสารสนเทศที่พัฒนาขึ้นเพื่อทดแทนการใช้กระดาษ ระบบ    
7.5 ผลลัพธ์ด้านงบประมาณ การเงิน ตลาด และกลยุทธ์ หน่วยวัด คะแนนเต็ม ปีการศึกษา
ก ผลลัพธ์ด้านงบประมาณ การเงิน และตลาด 2562 2563 2564 2565 2566 2567 แนวโน้ม
(1) ผลการดำเนินการด้านงบประมาณและการเงิน
118 010 งบประมาณจากแหล่งทุนภายนอกสนับสนุนการสร้างผู้ประกอบการ/ธุรกิจใหม่ บาท    
119 020 ร้อยละของการใช้งบประมาณ ร้อยละ   70.96  
120 030 งบประมาณที่ได้รับจัดสรร บาท   21,745,950.00  
121 040 ร้อยละของการใช้งบประมาณตามแผน ร้อยละ   70.96  
122 050 จำนวนโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการที่สร้างรายได้ให้กับคณะ โครงการ   1  
123 060 สัดส่วนจากงบประมาณเงินรายได้ต่อจากเงินแผ่นดิน ร้อยละ    
7.5 ผลลัพธ์ด้านงบประมาณ การเงิน ตลาด และกลยุทธ์ หน่วยวัด คะแนนเต็ม ปีการศึกษา
ก ผลลัพธ์ด้านงบประมาณ การเงิน และตลาด 2562 2563 2564 2565 2566 2567 แนวโน้ม
(2) ผลการดำเนินการด้านตลาด
124 010 จำนวนเงินทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก บาท    
125 011 จำนวนโครงการวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก โครงการ    
126 020 จำนวนเงินทุนวิจัยจากแหล่งทุนของมหาวิทยาลัยและส่วนงานภายใน บาท    
127 030 จำนวนเงินทุนวิจัยจากแหล่งทุนของคณะ บาท    
128 040 งบประมาณการพัฒนาเทคโนโลยี/นวัตกรรมเพื่อพัฒนาความเป็นผู้ประกอบการ ของมหาวิทยาลัย/ส่วนงาน บาท    
129 050 เงินจากการบริการวิชาการที่ได้รับจากแหล่งภายนอก บาท   1  
130 070 ร้อยละของการรับนิสิตใหม่ตามแผนรับนิสิต ร้อยละ   100  
131 071 จำนวนร้อยละของหลักสูตรที่รับนิสิตใหม่ที่ไม่ต่ำกว่าแผนรับ ร้อยละ   75  
132 072 จำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรปริญญาตรี คน    
133 073 จำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในหลักสูตรปริญญาโทและปริญญาเอก คน    
7.5 ผลลัพธ์ด้านงบประมาณ การเงิน ตลาด และกลยุทธ์ หน่วยวัด คะแนนเต็ม ปีการศึกษา
ข ผลลัพธ์ด้านการนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติและด้านนวัตกรรม 2562 2563 2564 2565 2566 2567 แนวโน้ม
134 010 ร้อยละความสำเร็จตามตัวชี้วัดของแผนปฏิบัติการ ร้อยละ   74.19  
135 020 ร้อยละความสำเร็จของการกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผน ร้อยละ   70.96  
136 030 ร้อยละของโครงการตามแผนปฏิบัติการที่นำไปปฏิบัติได้ต่อโครงการตามแผนปฏิบัติการทั้งหมด ร้อยละ   90.42  
137 031 ร้อยละของการดำเนินงานโครงการตามแผนด้านการจัดการศึกษา ร้อยละ   100  
138 032 ร้อยละของการดำเนินงานโครงการตามแผนด้านการวิจัยและนวัตกรรม ร้อยละ   100  
139 033 ร้อยละของการดำเนินงานโครงการตามแผนด้านบริการวิชาการ ร้อยละ   100  
140 034 ร้อยละของการดำเนินงานโครงการตามแผนด้านการบริหารจัดการ ร้อยละ   100  
141 040 ร้อยละของผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์คณะฯ ร้อยละ   74.19  
142 050 ร้อยละของผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ร้อยละ   74.19