![]() |
แบบฟอร์มประวัติและผลงานของอาจารย์ (Curriculum Vitae) |
ชื่อ-สกุล อาจารย์ วราเมษ วัฒนไชย
มหาวิทยาลัยทักษิณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โทรศัพท์ 074317600 ต่อ .........
140 ถ.กาญจนวนิช ม.4 ต.เขารูปช้าง อ.เมือง จ.สงขลา 90000 โทรสาร. 074-317606
เบอร์มือถือ e-mail :
1.การศึกษา (เรียงลำดับจากปีล่าสุด)
วุฒิการศึกษา | ชื่อสถาบัน | ปี |
อ.ม.(อักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาษาไทย) | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | 2548 |
ร.บ. (รัฐศาสตรบัณฑิต การระหว่างประเทศ) | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 2540 |
2. ประสบการณ์ทำงาน (เรียงจากปีล่าสุด)
3. ความเชี่ยวชาญ
สาขาวิชาที่เชียวชาญ | |
-วรรณคดีไทย วรรณคดีที่สัมพันธ์กับศาสตร์อื่น ๆ การอ่านทำนองเสนาะ |
4.ประสบการณ์สอน
รายละเอียด | ปี | |
การสอนระดับปริญญาโท | ||
๒ ปี รายวิชา สัมมนาความรู้ทางวรรณคดีไทย สัมมนาวรรณคดีแบบฉบับ สัมมนาการศึกษาวรรณคดีไทย | - | |
การสอนระดับปริญญาตรี | ||
7 ปี รายวิชา ความรู้ทางวรรณคดีไทย วรรณคดีนิราศ วรรณคดีเกี่ยวกับประเพณี วรรณคดีชาดก วรรณคดีพุทธศาสนา พัฒนาการของวรรณคดีไทย วรรณคดีเอกของไทย การอ่านทำนองเสนาะ ภาษาและวัฒนธรรมไทย สัมมนาปัญหาการใช้ภาษาไทย | - |
5.ผลงานทางวิชาการ /ผลงานสร้างสรรค์
ชื่อผลงาน | ปี | |
งานวิจัย | ||
พัชลินจ์ จีนนุ่น และวราเมษ วัฒนไชย. (2557). อัษฎาพานรคำกาพย์ภาคใต้ : ลักษณะร่วมและการสร้างสรรค์เฉพาะถิ่น. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ. | ||
มาโนช ดินลานสกูล, วราเมษ วัฒนไชย, ปริศนา พิมดี และจารึก จันทร์วงศ์. (2556). นักเขียนร่วมสมัยภาคใต้ : การรวมกลุ่มและบทบาท. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ. | ||
บทความวิจัย | ||
พัชลินจ์ จีนนุ่น และวราเมษ วัฒนไชย. (2558). “ลักษณะร่วมและการสร้างสรรค์ของเรื่องอัษฎาพานรคำกาพย์ภาคใต้ด้านเนื้อหาคำสอนและกลวิธีการสอน," คณะมนุษยศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 37(2), | ||
บทความวิชาการ | ||
วราเมษ วัฒนไชย. (2558). “เปรียบเทียบลีลาของฉันทลักษณ์ใน นันโทปนันทสูตรคำหลวง และ พระมาลัยคำหลวง,” จุลสารสาส์นไทย. 3(1), 127-145. | ||
เอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน | ||
วราเมษ วัฒนไชย. (2556). เอกสารประกอบการสอนวิชา 0111265 (การอ่านออกเสียง). สงขลา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. | ||
วราเมษ วัฒนไชย. (2542). เอกสารประกอบการสอนวิชา 0111363. สงขลา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. | ||
อื่น ๆ | ||
วราเมษ วัฒนไชย. (2554). “ดอก” นั้นสำคัญฉะนี้ที่ระลึกงานส่งเสริมดนตรีไทยภาคใต้ครั้งที่ 23. (หน้า 54-68). สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ. | ||
การนำเสนอผลงาน | ||
มาโนช ดินลานสกูล, วราเมษ วัฒนไชย, ปริศนา พิมดี และจารึก จันทร์วงศ์. (2557). “นักเขียนร่วมสมัยภาคใต้ : การรวมกลุ่มและบทบาท,” ใน รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 24 ประจำปี 2557. (หน้า 1694-1700). วันที่ 21-24 พฤษภาคม 2557 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี อำเภอหาดใหญ่ สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ. จังหวัดสงขลา. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ. |