![]() |
แบบฟอร์มประวัติและผลงานของอาจารย์ (Curriculum Vitae) |
ชื่อ-สกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ธนภัทร เต็มรัตนะกุล
มหาวิทยาลัยทักษิณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โทรศัพท์ 074317600 ต่อ .........
140 ถ.กาญจนวนิช ม.4 ต.เขารูปช้าง อ.เมือง จ.สงขลา 90000 โทรสาร. 074-317606
เบอร์มือถือ e-mail :
1.การศึกษา (เรียงลำดับจากปีล่าสุด)
วุฒิการศึกษา | ชื่อสถาบัน | ปี |
นศ.ด. (นิเทศศาสตร์) | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | 2556 |
ว.ม. (สื่อสารมวลชน) | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | 2551 |
ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | 2556 |
ศศ.บ. (สื่อสารมวลชน) | มหาวิทยาลัยรามคำแหง | 2546 |
2. ประสบการณ์ทำงาน (เรียงจากปีล่าสุด)
3. ความเชี่ยวชาญ
สาขาวิชาที่เชียวชาญ | |
นิเทศศาสตร์ ภาษาอังกฤษ | |
หัวข้อที่สนใจ | |
การสื่อสารความรู้ การสื่อสารกับวัฒนธรรม สื่อใหม่ การสื่อสารภาษาอังกฤษ |
4.ประสบการณ์สอน
รายละเอียด | ปี | |
การสอนระดับปริญญาโท | ||
อาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต สาขาวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ โดยมีรายวิชาดังนี้ วิชา 0103512 สังคมไทยกับโลกาภิวัตน์ | 2558 | |
การสอนระดับปริญญาเอก | ||
อาจารย์ผู้สอนประจำหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ โดยมีรายวิชาดังนี้ วิชา 0199511 โครงสร้างและพลวัตวัฒนธรรม 0199518 มานุษยวิทยาวัฒนธรรมและการพัฒนา และ 0199514 อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม | 2558 | |
การสอนระดับปริญญาตรี | ||
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์ สารสนเทศศาสตร์ และนิเทศศาสตร์ โดยมีรายวิชา ดังนี้ 0105111 นิเทศศาสตร์เบื้องต้น 0105211 ภาษาเพื่องานนิเทศศาสตร์ 0105311 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม 0105411 กฎหมายและจริยธรรมสื่อสารมวลชน 0105471 โครงงานนิเทศศาสตร์ 0105213 ภาษาอังกฤษเพื่องานนิเทศศาสตร์ 1 0105314 ภาษาอังกฤษเพื่องานนิเทศศาสตร์ 2 0105214 การรู้เท่าทันสื่อ 0105371 การวิจัยนิเทศศาสตร์ | 2556 |
5.ผลงานทางวิชาการ /ผลงานสร้างสรรค์
ชื่อผลงาน | ปี | |
งานวิจัย | ||
ผศ.เสริมศักดิ์ ขุนพล ผศ.ดร.ธนภัทร เต็มรัตนะกุล และอ.ลัดดา ประสาร. (2565). โครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนเกี่ยวกับกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์เพื่อการใช้ประโยชน์อย่างรู้เท่าทันประจำปีงบประมาณ 2564 (กสทช.) | ||
ทุนรายได้ประจำปีงบประมาณ 2564 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ | ||
ธนภัทร เต็มรัตนะกุล. (2563). การสื่อสารภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับพิธีกรรมและวัตถุมงคลในพื้นที่จังหวัดสงขลา. สงขลา: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ. | ||
ธนภัทร เต็มรัตนะกุล, พัชลินจ์ จีนนุ่น, เชิดศักดิ์ เกื้อรักษ์ และนพดล สาลีโภชน์. (2561). แนวทางการสื่อสารความรู้ในโครงการวิจัยแบบกลุ่มวิชาการ กรณีศึกษา โครงการวิจัยภายใต้โครงการการบริหารจัดการน้ำแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคนลุ่มน้ำอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาคลองป่าพะยอม - คลองท่าแนะ จังหวัดพัทลุง. สงขลา: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) | ||
พินิจ ดวงจินดา, สุธาสินี บุญญาพิทักษ์, อุไรวรรณ ทองแกมแก้ว, ธนภัทร เต็มรัตนะกุล, พัชลินจ์ จีนนุ่น, สุนิสา คงประสิทธิ์ และชาลินี สะท้านบัว. (2559). การประเมินการบริหารจัดการน้ำแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคนลุ่มน้ำอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาคลองป่าพะยอม-คลองท่าแนะ จังหวัดพัทลุง ปี 1. กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) | ||
พัชลินจ์ จีนนุ่น, คุณัชญ์ สมชนะกิจ และธนภัทร เต็มรัตนะกุล. (2557). หลักและวิธีสอนคุณธรรมจริยธรรมที่เหมาะสมกับเยาวชนจากวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ชุด วรรณกรรมทักษิณ: วรรณกรรมคัดสรร. งบประมาณเงินรายได้ ประจำปี 2557. | ||
บทความวิจัย | ||
วารสารนิเทศศาสตรปริทัศน์ ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2566) | ||
อินทนิลทักษิณสาร ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 (2022): มกราคม - มิถุนายน 2565 | ||
วารสารอินทนิลทักษิณสาร | ||
ธนภัทร เต็มรัตนะกุล. (2563). การสื่อสารภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับพิธีกรรมและวัตถุมงคลในพื้นที่จังหวัดสงขลา. วารสารนิเทศศาสตรปริทัศน์ มหาวิทยาลัยรังสิต. ปีที่ 24 ฉบับที่ 3 ออกเผยแพร่ประจาเดือน กันยายน – ธันวาคม 2563. (TCI กลุ่มที่ 1) | ||
ธนภัทร เต็มรัตนะกุล, พัชลินจ์ จีนนุ่น, เชิดศักดิ์ เกื้อรักษ์, และนพดล สาลีโภชน์. (2561). การบูรณาการการเรียนการสอนนิเทศศาสตร์ผ่านโครงการวิจัยชุมชน. วารสารอินทนิลทักษิณสาร ปีที่ 13 ฉบับพิเศษ มกราคม - ธันวาคม 2561 (หน้า 229-256) (TCI กลุ่มที่ 2) | ||
อุไรวรรณ ทองแกมแก้ว, พินิจ ดวงจินดา, สุธาสินี บุญญาพิทักษ์, สุนิสา คงประสิทธิ์, ธนภัทร เต็มรัตนะกุล, พัชลินจ์ จีนนุ่น, ชาลินี สะท้านบัว, พรพันธุ์ เขมคุณาศัย และเบญจวรรณ บัวขวัญ. (2560). การประเมินแบบมีส่วนร่วมในระบบการบริหารจัดการกลุ่มวิจัย: กรณีศึกษาการปฏิบัติที่ดีของกลุ่มวิจัยสุขภาพชุมชนเพื่อพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่และสังคม. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 5, 3 (2560), 446 - 456 (TCI กลุ่มที่ 1) | ||
พัชลินจ์ จีนนุ่น, คุณัชญ์ สมชนะกิจ และธนภัทร เต็มรัตนะกุล. (2559). หลักและวิธีสอนคุณธรรมจริยธรรมที่เหมาะสมกับเยาวชนจากวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ชุด วรรณกรรมทักษิณ: วรรณกรรมคัดสรร. วารสารปาริชาต. 29,1 (เมษายน 2559 – กันยายน 2559), 58-83. (TCI กลุ่มที่ 1) | ||
ธนภัทร เต็มรัตนะกุล. (2557). “การเข้าถึงและการใช้ประโยชน์จากสื่ออินเทอร์เน็ตของสตรีมุสลิมที่อาศัยในเขตเทศบาลเมืองและนอกเขตเทศบาลเมืองจังหวัดปัตตานี.” วารสารนิเทศศาสตร์. 32, 1 (มกราคม – มีนาคม) : 55-83. | ||
บทความวิชาการ | ||
ธนภัทร เต็มรัตนะกุล. (2553). "การประมวลองค์ความรู้เรื่องผลกระทบของเทคโนโลยีสื่อใหม่กับการประชาสัมพันธ์ จากเว็บไซต์ของ The Institue for Public Relations," การประชาสัมพันธ์และการโฆษณา คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 3(4), 158-189 | ||
เอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน | ||
ธนภัทร เต็มรัตนะกุล. (2559). วิชา 0105111 นิเทศศาสตร์เบื้องต้น. สงขลา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. | ||
อื่น ๆ | ||
ธนภัทร เต็มรัตนะกุล. (2559). วีดิทัศน์สื่อสารบทบาทของมหาวิทยาลัย ชุดที่ 1 โครงการบริหารจัดการน้ำแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาชีวิตคนลุ่มน้ำแบบยั่งยืน กรณีศึกษา คลองท่าแนะ - คลองป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) | ||
การนำเสนอผลงาน | ||
คมชาญ อุปถัมภ์, วริศรา จินดาผ่อง และธนภัทร เต็มรัตนะกุล. (2565). การรู้เท่าทันสื่อโซเชียลของผู้สูงอายุในเรื่องการเปิดรับเนื้อหาทางการเมือง ในการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 13 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ ในวันที่ 12 พฤษภาคม 2565 | ||
เพ็ญสิริ เอกพัฒนกุล, อนันธชัย รอดสิน และธนภัทร เต็มรัตนะกุล. (2565). อิทธิพลจากโฆษณาของยูทูบเบอร์ต่อทัศนคติและพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการของผู้ชม. ใน การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 13. ในวันที่ 12 พฤษภาคม 2565 | ||
พรรัตน์ ราชแก้ว, โยษิตา ทับทิมอ่อน, ฟาเดีย วันแอเลาะ, สถาพร จันผลช่วง และธนภัทร เต็มรัตนะกุล. (2563). การสื่อสารด้วยคาหยาบคายในการขายสินค้าออนไลน์. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านศิลปศาสตร์ ครั้งที่ 5 “ศาสตร์บูรณาการงานวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” ณ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย | ||
กันยารัตน์ พลภักดี, พนิดา แซ่ลิ่ม, นิติ รอดเพ็ง, อุบลขวัญ เพ็ชรพงษ์ และธนภัทร เต็มรัตนะกุล. (2563). แรงจูงใจและทัศนคติของเยาวชนต่อการรับชมภาพยนตร์ละเมิดลิขสิทธิ์ทางสื่อออนไลน์. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านศิลปศาสตร์ ครั้งที่ 5 “ศาสตร์บูรณาการงานวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” ณ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย | ||
สุวรรณนีย์ กิตติวิศิษฏ์, ศศิธร พันธบุตร, กวินทรา คงสุข, รัตนชาติ แก้วควรชุม และธนภัทร เต็มรัตนะกุล. (2563). การสื่อสารอัตลักษณ์วิถีชุมชนย่านเมืองเก่าสงขลาผ่านภาพวาด. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านศิลปศาสตร์ ครั้งที่ 5 “ศาสตร์บูรณาการงานวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” ณ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย | ||
ณิชากร สินสิริ, สุปรีดา ประดิษฐ์ และธนภัทร เต็มรัตนะกุล. (2562). การเปรียบเทียบการปรับตัวของสถานีวิทยุกับสื่อโซเชียล กรณีศึกษา สถานีวิทยุของเอกชนและสถานีวิทยุของรัฐวิสาหกิจในจังหวัดสงขลา. ใน การประชุมทางวิชาการระดับปริญญาตรีด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ระดับชาติครั้งที่ 3 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ | ||
ชนาณัติ ยานวิมุต, ธัชชา สุภาพ และธนภัทร เต็มรัตนะกุล. (2562). อิทธิพลของภาพยนตร์สยองขวัญแนวตลกที่มีต่อพฤติกรรมการตอบสนองของวัยรุ่นในจังหวัดสงขลา. ใน การประชุมทางวิชาการระดับปริญญาตรีด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ระดับชาติครั้งที่ 3 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ | ||
ประเสริฐ กองสง, ธนภัทร เต็มรัตนกุล และ ชลลดา แสงมณี ศิริสาธิตกิจ. (2561). การบริหารการสื่อสารเพื่อการพัฒนาชุมชน กรณีศึกษาศูนย์เรียนรู้ฯเศรษฐกิจพอเพียงตำบลวังอ่าง อำเภอชะอวด จังหวัดนครศรีธรรมราช. ใน การประชุมวิชาการ และการประกวดนวัตกรรมบัณฑิตศึกษาระดับชาติและนานาชาติ วันที่ 17-18 พฤษภาคม 2561 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติดิเอ็มเพรส โรงแรมดิเอ็มเพรส เชียงใหม่ | ||
ธนภัทร เต็มรัตนะกุล, พัชลินจ์ จีนนุ่น, เชิดศักดิ์ เกื้อรักษ์ และนพดล สาลีโภชน์. (2561). แนวทางการสื่อสารความรู้ในโครงการวิจัยแบบกลุ่มวิชาการ กรณีศึกษา โครงการวิจัยภายใต้โครงการการบริหารจัดการน้ำแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคนลุ่มน้ำอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาคลองป่าพะยอม - คลองท่าแนะ จังหวัดพัทลุง. ใน การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 10 "ถักทองานวิจัยท้องถิ่น.....ก้าวไกลสู่สากล" คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา |