แบบฟอร์มประวัติและผลงานของอาจารย์ (Curriculum Vitae)

ชื่อ-สกุล อาจารย์  ปริยากรณ์  ชูแก้ว 


มหาวิทยาลัยทักษิณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์                   โทรศัพท์  074317600 ต่อ .........
140 ถ.กาญจนวนิช ม.4 ต.เขารูปช้าง อ.เมือง จ.สงขลา 90000           โทรสาร. 074-317606
เบอร์มือถือ                                                      e-mail :


1.การศึกษา (เรียงลำดับจากปีล่าสุด)

วุฒิการศึกษา ชื่อสถาบัน ปี
ศศ.ม. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยทักษิณ 2557
กศ.บ. (ภาษาไทย) เกียรตินิยมอันดับ 1 มหาวิทยาลัยทักษิณ 2552

2. ประสบการณ์ทำงาน (เรียงจากปีล่าสุด)

3. ความเชี่ยวชาญ

4.ประสบการณ์สอน

5.ผลงานทางวิชาการ /ผลงานสร้างสรรค์

ชื่อผลงาน ปี
งานวิจัย
  ปริยากรณ์ ชูแก้ว กรุณา แดงสุวรรณ สาวิตรี สัตยายุทย์ อลิสา คุ่มเคี่ยม ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์ . (2566). การพัฒนาทักษะการทอผ้าพื้นเมืองสำหรับสามเณรไร้ที่พึ่งพิง โรงเรียนวัดพระปริยัติธรรม อำเมืองเมือง จังหวัดสงขลา. กรุงเทพฯ : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช). (รายงานการวิจัย).
  ปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2563). คุณธรรมพลเมืองในบริบทท้องถิ่นภาคใต้จากมรดกภูมิปัญญาหนังตะลุง. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. สงขลา. (รายงานการวิจัย).
  ปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2562). การรักษาสืบสานการเล่นกลองบานอร่วมสมัยของเยาวชนมลายูมุสลิม โดยชุมชนเครือข่ายบานอ จังหวัดนราธิวาสเพื่อลดความเหลื่อมล้ำด้านวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช). (รายงานการวิจัย).
  พรพันธุ์ เขมคุณาศัย ปริยากรณ์ ชูแก้ว และกรุณา แดงสุวรรณ. (2563). การสังเคราะห์รูปแบบการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนบนฐานการทำนาจังหวัดนราธิวาส. กรุงเทพ ฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). (รายงานการวิจัย).
  พรพันธุ์ เขมคุณาศัย และ ปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2560). “สิละ”เจ็ดหัวเมือง : พื้นที่แสดงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนมลายูมุสลิมกับการพัฒนารูปแบบกระบวนการสื่อสารสังคมเพื่อเสริมสร้างสันติภาพในพื้นที่ชายแดนใต้. สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช). (รายงานการวิจัย).
  ปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2560). การเรียนการสอนโดยการเรียนรู้แบบใช้วิจัยเป็นฐานรายวิชานวัตกรรมเพื่อการสอนภาษาไทย สำหรับนิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยทักษิณ. ฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยทักษิณ. สงขลา. (รายงานการวิจัย).
บทความวิจัย
  ปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2564). “คุณธรรมพลเมืองในบริบทท้องถิ่นภาคใต้จากมรดกภูมิปัญญาหนังตะลุง”,.วารสารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 18,1 (มกราคม – เมษายน2564), 63-84.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น, วราเมษ วัฒนไชย และปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2561). “รูปแบบและเนื้อหาของวรรณกรรม ภาคใต้ยุคการพิมพ์ พ.ศ. 2470 – 2520”, วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. 7,2 (กรกฎาคม -ธันวาคม 2561), 105-123.
บทความวิชาการ
  ตรียาภรณ์ สายจันทร์, ศศิมา วีวร, อลิสา คุ่มเคี่ยม, ปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2565). “กลวิธีการตั้งชื่อซีรีส์เกาหลีเป็นภาษาไทยในปี 2016 – 2020”, วารสารฟ้าเหนือ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. 13(1), 41-60.
  ดาราน้อย แสงศรี พลกฤษณ์ หมื่นเพชร อลิสา คุ่มเคี่ยม และปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2565). “ลักษณะการใช้ภาษาในการตั้งชื่อคลิปรายการโหนกระแส”, วารสารดอกแก้วปริทัศน์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 2(1), 27-41
  พรรณวดี พลายอินทร์, ยุทธิชัย อุปการดี, ปริยากรณ์ ชูแก้ว และอลิสา คุ่มเคี่ยม. (2565). การใช้ภาษาสื่อ จินตภาพความรักในบทเพลงลูกกรุงที่ขับร้องโดยสวลี ผกาพันธุ์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 41(1), 120-129.
  บิสมิลลา พันสกุล มาโนช ดินลานสกุล และปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2565). “รวมเรื่องสั้น 24 ชั่วโมง ของ แพรพลอย วนัช : สัมพันธภาพที่โดดเด่นของตัวละคร”, วารสารดอกแก้วปริทัศน์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 2(1), 55-64.
  ปัญญาพร ศรีเปารยะ มาโนช ดินลานสกูล และปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2564). “พฤติกรรม “ครู” ที่สะท้อนผ่านวรรณกรรมเรื่อง ปลูกฝันไว้ในแผ่นดิน”, วารสารดอกแก้วปริทัศน์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 1(1), 80-90.
  จันทิมา นวลเพ็ชร ปวีณ์นุช เนียมสวัสดิ์ อลิสา คุ่มเคี่ยม ปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2564). “การใช้ถ้อยคำสื่ออารมณ์ของบทเพลงทองคำในรายการ The Goden Song เวทีเพลงเพราะ”, วารสารฟ้าเหนือ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย. 12(2) กรกฎาคม - ธันวาคม 2564. 32-54.
  จริญญา ทาริกานนท์, ศักดาพร ไชยพล, ศิรินาถ ช่วยรอด, ปริยากรณ์ ชูแก้ว, อลิสา คุ่มเคี่ยม. (2564). “ภูมินามชื่อโรงเรียนประถมศึกษาในสังกัด สพป. เขต 2 จังหวัดสงขลา”, วารสารฟ้าเหนือ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย. 12(2) (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564). 1-31.
  ปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2564). “ภูมิทัศน์ในความทรงจำจากตัวบทนวนิยายเรื่องบ้านในโคลนของกิตติศักดิ์ คเชนทร์”, วารสารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้. 9,1 (มกราคม – มิถุนายน 2564), 157-173.
  ทักษิณ ทุนเกิด, อภิชัย ไพโรจน์, ปริยากรณ์ ชูแก้ว, อลิสา คุ่มเคี่ยม. (2564). “วัจนกรรมในถ้อยคำการจีบจากซีรีส์วาย เรื่อง เพราะเราคู่กัน”, วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. 17,2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2564). 217-246.
  สรัลพร ขวัญซ้าย เบญจวรรณ สงสุข ปริยากรณ์ ชูแก้ว อลิสา คุ่มเคี่ยม. (2564). “กลวิธีการตั้งชื่อตอน สะท้อนเอกลักษณ์ : รายการเถื่อน Travel และรายการเที่ยวรอบโลก”, วารสารดอกแก้วปริทัศน์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 1(2), 48-60.
  ธาวินี หลีจ้วน มาโนช ดินลานสกูล ปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2564). กลไกการป้องกันตนเองของตัวละครเด็ก ในนวนิยายเรื่อง ชีวิตมหัศจรรย์ของออกัสต์”. วารสารดอกแก้วปริทัศน์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 1(2), 121-129.
  ทักษิณ ทุนเกิด มาโนช ดินลานสกูล เเละปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2564). “บทขับร้องฉุยฉาย ความภูมิใจในความเป็นอื่นของตัวละครในนาฏกรรมโขน”, วารสารดอกแก้วปริทัศน์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 1(1), 41-51.
  ธัญญลักษณ์ อ่อนประสงค์ มาโนช ดินลานสกูล เเละปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2564). “บุพเพสันนิวาสกับภาพแทนความเป็นหญิงแห่งกรุงศรีอยุธยากับหญิงก้าวหน้าในปัจจุบัน”, วารสารดอกแก้วปริทัศน์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 1(1), 69-79.
  พรรณวดี พลายอินทร์ มาโนช ดินลานสกูล เเละปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2564). “การศึกษาพฤติกรรมของวัยรุ่นในวรรณกรรมเยาวชนเรื่อง วันเกิดของเค้าโมง”, วารสารดอกแก้วปริทัศน์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 1(1), 29-40
  กรรณิกา ชูภิรมย์ มาโนช ดินลานสกูล และปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2564). “การต่อสู้ขัดขืนของผู้หญิงในนวนิยายเรื่องความรักของวัลยา”, วารสารดอกแก้วปริทัศน์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 1(1), 114-125.
  ยุทธิชัย อุปการดี, มาโนช ดินลานสกูล, ปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2563). “สำรวจสถานภาพรูปแบบการสอนอ่านวรรณคดีไทยจากงานวิจัยระหว่างปี พ.ศ. 2547 - 2561”, วารสารฟ้าเหนือ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. 11,1 (มกราคม – มิถุนายน 2563), 89-117.
  อภิชญา คงนวลใย, มาโนช ดินลานสกูล, ปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2563). “กลวิธีการพูดโน้มน้าวใจของเมนเทอร์ในรายการ The Face Thailand”, วารสารฟ้าเหนือ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. 11,1 (มกราคม – มิถุนายน 2563),31-59.
  ปัทมา ดีลิ่น, ปริยากรณ์ ชูแก้ว, ศรีอังคาร ถาวโรฤทธิ์. (2560). “เทคนิคการจัดการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญการเรียนการสอนวิชาวัฒนธรรมจีนในระดับอุดมศึกษา”, วารสารอินทนิลทักษิณสาร มหาวิทยาลัยทักษิณ. 12,3 (มกราคม–ธันวาคม 2560 ฉบับพิเศษ.), 59-81.
เอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน
  ปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2567). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา แบบเรียนภาษาไทย. สงขลา : คณะมนุษยศาสตร์และสัมคงศาสตร์มหาวิทยาลัยทักษิณ.
  ปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2563). เอกสารประกอบการสอนรายวิชา นวัตกรรมเพื่อการสอนภาษาไทย. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ. (เอกสารอัดสำเนา)
การนำเสนอผลงาน
  ศุภชัย บุญละดี จินตนา กสินันท์ และปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2567). การพัฒนาทักษะการสื่อสารด้านการเขียนย่อความเกี่ยวกับวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ โดยใช้เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือเพื่อคู่คิด (Think -pair-share) สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนมัธยมสิริวัณวลี 2 สงขลา.
  นราทิพย์ แพทย์ศรี สมิทธ์ชาต์ พุมมา และปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2563). วิเคราะห์กลวิธีการเขียนจากวรรณกรรมจิตวิทยาของขุนเขา สินธุเสน เขจรบุตร. ในการประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและการสอนภาษาไทย ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3 (หน้า 190-200) วันที่ 16 พฤษภาคม 2563 ผ่านระบบออนไลน์ cisco webex.
  รุ่งนภา แก้วสุกใส ปริยากรณ์ ชูแก้ว และอลิสา คุ่มเคี่ยม. (2563). การศึกษาการตั้งชื่อเรื่องบทกวีในรางวัลพานแว่นฟ้า. ในการประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและการสอนภาษาไทย ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3 (หน้า 167-177) วันที่ 16 พฤษภาคม 2563 ผ่านระบบออนไลน์ cisco webex.
  พิชญ์นันท์ ปรีชา อลิสา คุ่มเคี่ยม และปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2563). ลักษณะการใช้ภาษาในสติ๊กเกอร์ไลน์ ของ วิธิตา แอนิเมชั่น. ในการประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและการสอนภาษาไทย ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3 (หน้า 70-81) วันที่ 16 พฤษภาคม 2563 ผ่านระบบออนไลน์ cisco webex
  อนิตา หมัดอัด ปริยากรณ์ ชูแก้ว และประภัสสร ภัทรนาวิก. (2563). การใช้ภาษาในบทเพลงบูชาวันแม่. ในการประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและการสอนภาษาไทย ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3 (หน้า 178-189) วันที่ 16 พฤษภาคม 2563 ผ่านระบบออนไลน์ cisco webex.
  สวรรยา กาญจนพิน จริญญา ธรรมโชโต และปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2563). การแปรคำศัพท์ภาษาไทยถิ่นใต้ของผู้พูดสามระดับอายุ ในตำบลพิจิตร อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา. ในการประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและการสอนภาษาไทย ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3 (หน้า 91-105) วันที่ 16 พฤษภาคม 2563 ผ่านระบบออนไลน์ cisco webex.
  กนกวรรณ ไกรเทพ, พรพันธุ์ เขมคุณาศัย, ปริยากรณ์ ชูแก้ว, จริญญา ธรรมโชโต. (2561) .“การ สังเคราะห์องค์ความรู้เรื่องคําสแลงจากงานวิจัยไทยในรอบ 3 ทศวรรษ (พ.ศ.2526-2559)”, ในการประชุมวิชาการระดับชาติด้านศิลปศาสตร์ ครั้งที่ 3 : ศาสตร์การบูรณาการงานวิจัย เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ประจำปี 2561. (หน้า 224-232). วันที่ 29-30 มีนาคม 2561 ณ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จังหวัดสงขลา.
  ณัฐปกรณ์ สงนวล สิริยากร วิชิตพงษ์ ปริยากรณ์ ชูแก้ว และจริญญา ธรรมโชโต. (2563).ในรวมบทความการประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านศิลปศาสตร์ ครั้งที่ 5 “ศาสตร์บูรณาการงานวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” (หน้า 496-504). วันที่ 16-17 กรกฎาคม 2563. ณ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จังหวัดสงขลา.
  สุวนันท์ รัญวาศรี, รุ่งวิกรัย ไชยศรี, จริญญา ธรรมโชโต, ปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2563). การบริภาษในหนังตะลุงน้องเดียว ลูกทุ่งวัฒนธรรม. ในรวมบทความการประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านศิลปศาสตร์ ครั้งที่ 5 “ศาสตร์บูรณาการงานวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” (หน้า 511-521). วันที่ 16-17 กรกฎาคม 2563. ณ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จังหวัดสงขลา.
  Pariyagorn Chookaew, Pornpan Khemakhunasi, Purisa kaweepun and Karuna Dangsuwan. (2019). “Power of Language: Co-Creation of Mutual Values and Thai Language Abilities in Transmission of Innovation of Local Organic Rice Farming Operated by Thai-Malay Muslim Farmers in Ban La-han, Waeng District, Narathiwat Province” Area Based Development Research Journal. 11,3. (May-June 2019),188-204.
  มาริสา บิลโต๊ะ, ปริยากรณ์ ชูแก้ว และจารึก จันทร์วงค์. (2562). การใช้ภาษาพาดหัวข่าวบันเทิงดาราเดลี่ ในอินสตาแกรม. ในการประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและวัฒนธรรมศึกษา ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 2 (หน้า 26-37) วันที่ 22 พฤษภาคม 2562 ณ หอประชุมปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา.
  กัญญาณัฐ คำด้วง, สมิทธ์ชาต์ พุมมา และปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2562). วิเคราะห์เนื้อหาใบเซียมซีศาลเจ้าปุดจ้ออำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต. ในการประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและวัฒนธรรมศึกษา ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 2 (หน้า 349-358) วันที่ 22 พฤษภาคม 2562 ณ หอประชุมปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา.
  อภิชัย จันทร์เกษ, พรพันธุ์ เขมคุณาศัย, จริญญา ธรรมโชโต, ปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2562). สถานภาพการวิจัยคำบอกเวลา ในรอบ 45 ปี (พ.ศ. 2514-2559). ในการประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและวัฒนธรรมศึกษา ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 1 (หน้า 255-265) วันที่ 26 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา.
  ศศิพิมพ์ สุขะปุณพันธ์, พรพันธุ์ เขมคุณาศัย, ปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2562). สถานภาพการ วิจัยการสอนเขียนสะกดคำจากงานวิจัยระหว่าง พ.ศ. 2545 – พ.ศ. 2555. ในการประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและวัฒนธรรมศึกษา ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 1 (หน้า 248-254) วันที่ 26 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา.
  จุฬารัตน์ รอดทอง, ปริยากรณ์ ชูแก้ว, สมิทธ์ชาติ์ พุมมา. (2562). ความเชื่อในนวนิยายเรื่องนากพัทธ์ของทมยันตี. ในการประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและวัฒนธรรมศึกษา ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 1 (หน้า 274-281) วันที่ 26 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา.
  อุมาพร พรมแก้ว, ศรีอังคาร ถาวโรฤทธิ์, ปริยากรณ์ ชูแก้ว, อลิสา คุ่มเคี่ยม. (2562). กลวิธีการสร้างอารมณ์ขันในซิทคอมเรื่อง เสือ ชะนี เก้ง. ในการประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและวัฒนธรรมศึกษา ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 1 (หน้า 163-174). วันที่ 26 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา.
  ดวงลดา ขวัญนิมิตร, พัชลินจ์ จีนนุ่น และปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2562). กลวิธีการนำเสนอนวนิยายอิง ประวัติศาสตร์เรื่องข้ามสมุทรของ วิษณุ เครืองาม. ในการประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและวัฒนธรรมศึกษา ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 2 (หน้า 241-254) วันที่ 22 พฤษภาคม 2562 ณ หอประชุมปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ จังหวัดสงขลา.
  กนกวรรณ ไกรเทพ, พรพันธุ์ เขมคุณาศัย, ปริยากรณ์ ชูแก้ว, จริญญา ธรรมโชโต. (2561) .“การ สังเคราะห์องค์ความรู้เรื่องคําสแลงจากงานวิจัยไทยในรอบ 3 ทศวรรษ (พ.ศ.2526-2559)”, ในการประชุมวิชาการระดับชาติด้านศิลปศาสตร์ ครั้งที่ 3 : ศาสตร์การบูรณาการงานวิจัย เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ประจำปี 2561. (หน้า 224-232). วันที่ 29-30 มีนาคม 2561 ณ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จังหวัดสงขลา.
  เอนกพงศ์ พิจิตโร ศรีอังคาร ถาวโรฤทธิ์ ประภัสสร ภัทรนาวิก ปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2561). “การใช้ภาษาพาดหัวปกนิตยสาร Vogue Thailand” ในการประชุมระดับชาติทางด้านภาษาไทยและวัฒนธรรมศึกษา ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 1 “ภาษา วรรณกรรมและวัฒนธรรมศึกษา” หน้าที่ 153-162 วันที่ 26 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.