ความสอดคล้องเหมาะสมของชื่อเรื่องและวัตถุประสงค์ |
ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ ใช้ Human Resource Development
keyword ทั้งไทยและอังกฤษ ตัดการพัฒนาออกไป
ปรับวัตถุประสงค์ เป็นการพัฒนากรอบแนวคิดในการการพัฒนาบุคลากรเทศบาลตำบลขุนทะเล อำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช |
ชื่อเรื่องระบุว่าเป็นการพัฒนาบุคลากรเทศบาลตำบลขุนทะเล อำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช แต่วัตถุประสงค์ระบุจะศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหาการพัฒนาบุคลากรและแนวทางการพัฒนาของบุคลากรเทศบาลตำบลขุนทะเล อำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช ....แต่ผลวิจัยไม่มีเนื้อหาดังชื่อเรื่องและวัตถุประสงค์ |
ความครอบคลุมและความชัดเจนของบทคัดย่อ |
ปรับกรออบแนวคิดให้สอดคล้องกับผลที่ระบุในบทคัดย่อ |
บทคัดย่อไม่ระบุวัตถุประสงค์ ไม่ระบุวิธีการศึกษา ไม่ระบุแหล่งที่มาของข้อมูล อีกทั้งผลการศึกษาไม่ชัดเจน |
ความสอดคล้องของประเด็นปัญหา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของเรื่องที่ศึกษา |
เพิื่มข้อมูลการอ้างอิงในเชิงวิชาการเกี่ยวกับ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ผลงานที่นำมาอ้างอิง ควรเป็นผลงานย้อนหลังไม่เกิน 5 ปี |
ย่อหน้าสุดท้ายผู้เขียนเพียงระบุว่า...จะศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหาการพัฒนาบุคลากรและแนวทางการพัฒนาของบุคลากรเทศบาลตำบลขุนทะเล อำเภอลานสกา จังหวัดนครศรีธรรมราช แต่ผลวิจัยไม่ได้นำเสนอประเด็นเหล่านี้...วัตถุประสงค์แท้จริงคือพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัยเท่านั้น |
การเชื่อมโยงของแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และกรอบแนวคิด กับบทความ |
เพิ่มเนื้อหาจากนักวิชาการที่มากกว่า 1 แหล่งที่มา
เช่น ความหมาย/ความสำคัญ ประโยชน์/ ประะเภท / วิธีการพัฒนา
แล้วสังเคราะห์ข้อมูลในแต่ละส่วนเป็นมุมมองของผู้วิจัย ไม่ใช่เพียงแค่จัดวางข้อมูล |
3งานนี่ทบทวนวรรณกรรมเพื่อกำหนดเป็นกรอบแนวคิดการวิจัยเท่านั้น เอกสารอ้างอิงค่อนข้างเก่า ควรค้นคว้างานที่ตีพิมพ์ไม่เกิน 10 ปี |
ความน่าเชื่อถือของวิธีการศึกษา และขั้นตอนการศึกษา |
เพิ่มในส่วนของการคัดเลือกข้อมูลทุติยภูมืมาว่าใช้เกณฑ์ใดในการเลือก |
ไม่ระบุวิธีการศึกษา วิธีการรวบรวมข้อมูล แหล่งข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล |
ความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของการวิเคราะห์ข้อมูลและการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล |
|
ไม่ระบุวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล |
การใช้ข้อมูลสนับสนุนน่าเชื่อถือสมเหตุสมผล ในการสรุปและอภิปรายผล |
งเคราะห์ข้อมูลในแต่ละส่วนเป็นมุมมองของผู้วิจัย ไม่ใช่เพียงแค่จัดวางข้อมูล |
ผลการวิจัยมีอ้างอิงที่มาของกรอบแนวคิดเพียงรายการเดียว และไม่มีการอภิปรายผลการวิจัย |
ผลการศึกษาก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ และคุณค่าต่อการนำไปใช้ประโยชน์ |
|
งานนี่ทบทวนวรรณกรรมเพื่อกำหนดเป็นกรอบแนวคิดการวิจัยเท่านั้น เอกสารอ้างอิงค่อนข้างเก่า ควรค้นคว้างานที่ตีพิมพ์ไม่เกิน 10 ปี |
ความชัดเจนและความเหมาะสมของการใช้ภาษา ชัดเจน เข้าใจง่าย เป็นทางการ |
|
บทความนี้ไม่ใช่บทความวิจัย แต่เป็นบทความปริทัศน์ คือรวบรวมองค์ความรู้จากแหล่งอื่นมากำหนดเป็นกรอบแนวคิดการวิจัย (เพื่อจะนำไปใช้ต่อในกระบวนการวิจัย)
หากคณะกรรมการจัดประชุมวิชาการรับให้มีการนำเสนอบทความประเภทนี้ด้วย ควรเปลี่ยนแบบประเมิน |
ข้อมูลการอ้างอิง ทันสมัย น่าเชื่อถือ |
เพิ่มได้อีก |
ยังไม่อ้างอิงในเนื้อหาและท้ายบทความไม่สอดคล้องกัน |
ไฟล์ข้อเสนอแนะ 2
|