ความสอดคล้องเหมาะสมของชื่อเรื่องและวัตถุประสงค์ |
เพิ่มหัวข้อวัตถุประสงค์การวิจัย |
-งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการศึกษาทฤษฎีแรงจูงใจในการทำงานและความสามารถในการทำงาน จึงไม่ควรระบุพื้นที่ศึกษา ควรจะใช้ชื่อเรื่องว่า "แรงจูงใจในการทำงานและความสามารถในการทำงาน: การทบทวนวรรณกรรม" |
ความครอบคลุมและความชัดเจนของบทคัดย่อ |
ปานกลาง |
ควรระบุว่ามีการทบทวนวรรณกรรมที่เผยแพร่จากปีไหนถึงปีไหน และจำนวนกี่เรื่อง หรือจะศึกษาทฤษฎีของใคร กี่คน แล้วนำมาเปรียบเทียบ |
ความสอดคล้องของประเด็นปัญหา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของเรื่องที่ศึกษา |
ปานกลาง |
-ประเด็นปัญหาควรระบุถึงว่าทำไมต้องมีการทบทวนวรรณกรรมเรื่องนี้ และจากการสังเคราะห์วรรณกรรมพบ Gap Research อะไรบ้าง และจะนำตัวแปรที่สังเคราะห์ได้ไปทำอะไร หรือจะศึกษาทฤษฎีของใคร แล้วนำมาสกัดหาตัวแปร จึงไม่จำเป็นต้องระบุพื้นที่ที่จะศึกษาเพราะมันไม่เกี่ยวกัน |
การเชื่อมโยงของแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และกรอบแนวคิด กับบทความ |
ดี |
-ควรระบุการทบทวนวรรณกรรมที่ได้จากงานวิจัยแต่ละชิ้น หรือจากนักทฤษฎีทั้งในและต่างประเทศที่หลากหลายแล้วนำมาสรุปหาตัวแปร |
ความน่าเชื่อถือของวิธีการศึกษา และขั้นตอนการศึกษา |
ดี |
-ใม่ใช่กระบวนการการสังค์เคราะห์วรรณกรรม |
ความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของการวิเคราะห์ข้อมูลและการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล |
บทความจากการทบทวนวรรณกรรม |
-ยังขาดความน่าเชื่อถือ เพราะผิดระเบียบวิธีวิจัย |
การใช้ข้อมูลสนับสนุนน่าเชื่อถือสมเหตุสมผล ในการสรุปและอภิปรายผล |
|
-ขาดข้อมูลสนับสนุน |
ผลการศึกษาก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ และคุณค่าต่อการนำไปใช้ประโยชน์ |
คาดว่าเมื่องานวิจัยเสร็จสมบูรณ์จะได้มาซึ่งองค์ความรู้ใหม่ |
-การสังเคราะห์ทฤษฎีมีน้อยเลยทำให้เกิดความรู้ใหม่ |
ความชัดเจนและความเหมาะสมของการใช้ภาษา ชัดเจน เข้าใจง่าย เป็นทางการ |
ดี |
-มีความเหมาะสม |
ข้อมูลการอ้างอิง ทันสมัย น่าเชื่อถือ |
ดี |
-ขาดการสังเคราะห์งานที่หลากหลายทำให้มีข้อมูลน้อย ไม่น่าเชื่อถือ |
|