ความสอดคล้องเหมาะสมของชื่อเรื่องและวัตถุประสงค์ |
|
-มีความสอดคล้อง |
ความครอบคลุมและความชัดเจนของบทคัดย่อ |
พิมพ์ผิด พิมพ์ขาด พิมพ์เกิน ขาดคำเชื่อม ขาดการเว้นระยะห่างระหว่างประโยค/คำ จนทำให้อ่านแล้วไม่เข้าใจเลย |
-ควรระบุแหล่งที่มาของวรรณกรรม/จำนวนงานวิจัยที่สังเคราะห์ |
ความสอดคล้องของประเด็นปัญหา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของเรื่องที่ศึกษา |
การเขียนบทนำ เริ่มต้นย่อหน้าแรกได้ดี เพราะกล่าวถึงความสำคัญของทรัพยากรมนุษยฺ์ แต่ย่อหน้าสองควรกล่าวถึงตัวแปรตามก่อน คือ คุณภาพชีวิตในการทำงานว่าสำคัญอย่างไร จะส่งผลต่อองค์การอย่างไรบ้าง ส่วนย่อหน้าสามถึงจะมาพูดถึงแรงจูงใจที่เป็นตัวแปรต้น ว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญที่ส่งผลต่อตัวแปรตาม ดังนั้นในภาพรวมของบทนำคือ อ่านแล้วยังไม่เห็นถึงความน่าสนใจในการศึกษาตัวแปรตามเท่าที่ควร และขนาดความเชื่อมโยงระหว่างย่อหน้าในบทนำ |
-ควรอธิบายแต่ละย่อหน้าให้เชื่อมโยงกัน
-ควรระบุให้ชัดทำไมถึงสังเคราะห์ 2 ตัวแปรนี้ |
การเชื่อมโยงของแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และกรอบแนวคิด กับบทความ |
ยังขาดการทบทวนความหมายของตัวแปร |
-มีความเชื่อมโยง
|
ความน่าเชื่อถือของวิธีการศึกษา และขั้นตอนการศึกษา |
ไม่ควรประเมินให้คะแนนส่วนนี้ เพราะเป็นบทความวิชาการ |
-มีความน่าเชื่อถือ |
ความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของการวิเคราะห์ข้อมูลและการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล |
ไม่ควรประเมินให้คะแนนส่วนนี้ เพราะเป็นบทความวิชาการ |
-มีความถูกต้องและน่าเชื่อถือ |
การใช้ข้อมูลสนับสนุนน่าเชื่อถือสมเหตุสมผล ในการสรุปและอภิปรายผล |
|
-มีความสมเหตุสมผลของตัวแปรที่ได้มาจากการสังเคราะห์ทฤษฎี
-ควรสังเคราะห์จากตำราร่วมด้วย |
ผลการศึกษาก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ และคุณค่าต่อการนำไปใช้ประโยชน์ |
|
-มีประโยชน์นำไปประยุกต์เพื่อใช้ศึกษาต่อยอดได้ |
ความชัดเจนและความเหมาะสมของการใช้ภาษา ชัดเจน เข้าใจง่าย เป็นทางการ |
พิมพ์ตก พิมพ์ขาด พิมพ์เกิน พิมพ์อ่านไม่เข้าใจ พิมพ์ซ้ำ ขาดคำเชื่อม เขียนติดกัน ไม่เว้นวรรคระหว่างคำ |
-มีความชัดเจน เหมาะสม |
ข้อมูลการอ้างอิง ทันสมัย น่าเชื่อถือ |
1) อ้างอิงในเนื้อหาเยอะมาก แต่ไม่มีเขียนอ้างอิงตรงเอกสารอ้างอิงเลย 2) พิมพ์อ้างอิงผิด พิมพ์ตก 3) เขียนอ้างอิงด้วยรูปแบบที่ไม่ถูกต้อง |
-ควรสังเคราะห์งานไม่เกิน 3 ปี /และควรมีการสังเคราะห์งานต่างประเทศร่วมด้วย |
ไฟล์ข้อเสนอแนะ 1
|