ความสอดคล้องเหมาะสมของชื่อเรื่องและวัตถุประสงค์ |
ชื่อเรื่องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ แต่ผลการศึกษาไม่ครอบคลุมวัตถุประสงค์ |
ผู้เขียนตั้งชื่อแนวทางการปรับภาพลักษณ์...แต่วัตถุประสงค์เพียงสำรวจภาพลักษณ์เท่านั้น และทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด จึงไม่สอดคล้องกัน |
ความครอบคลุมและความชัดเจนของบทคัดย่อ |
1. บทคัดย่อ และ Abstract ไม่ตรงกัน (ตัวเลข)
2. แนวทางการปรับภาพลักษณ์ในตัวตนฯ คืออะไรไม่มีการกล่าวถึง |
ผลวิจัยในบทคัดย่อไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และกรอบแนวคิดการวิจัย นำเสนอเพียงผลสำรวจภาพลักษณ์เท่านั้น |
ความสอดคล้องของประเด็นปัญหา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของเรื่องที่ศึกษา |
|
-ไม่ระบุประเด็นปัญหาของโรงแรมที่ศึกษา
-ขาดอ้างอิงที่น่าเชื่อถือ ได้เสนอแนะในไฟล์บทความแล้ว |
การเชื่อมโยงของแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และกรอบแนวคิด กับบทความ |
1. ลักษณะส่วนบุคคล เป็นข้อมูลทั่วไป ไม่ได้มีส่วนสัมพันธ์กับภาพลักษณ์ฯ
2. ขาดที่มาของความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภายใน/บุคลิกภายนอก กับ ภาพลักษณ์ฯ |
|
ความน่าเชื่อถือของวิธีการศึกษา และขั้นตอนการศึกษา |
อ้างอิง สเกลหรือวิธีการวัด |
ผลวิจัยไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และกรอบแนวคิดการวิจัย |
ความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของการวิเคราะห์ข้อมูลและการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล |
1. ขาดข้อมูลตัวเลขที่สนับสนุนความน่าเชื่อถือของระดับการแปลผล ว่า มาก น้อย ปานกลาง...... ควรนำเสนอในรูปตาราง และมีการแปลผลให้เห็น
2. ผู้วิจัยศึกษาแนวทางและความสัมพันธ์ ของตัวแปรต้น และตัวแปรตาม แต่ผลที่ได้ กลับเป็นระดับความพึงพอใจ
3. หากใช้สถิติที่หาค่าความสัมพันธ์ เช่น Pearson Correlation หรือ Regression Analysis เพิ่มเติมก็จะสร้างความน่าเชื่อถือ และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์มากขึ้น |
ผู้เขียนไม่นำเสนอผลการวิเคราะห์ทางสถิติ นำเสนอเพียงข้อความบรรยายเท่านั้น |
การใช้ข้อมูลสนับสนุนน่าเชื่อถือสมเหตุสมผล ในการสรุปและอภิปรายผล |
|
|
ผลการศึกษาก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ และคุณค่าต่อการนำไปใช้ประโยชน์ |
|
|
ความชัดเจนและความเหมาะสมของการใช้ภาษา ชัดเจน เข้าใจง่าย เป็นทางการ |
|
|
ข้อมูลการอ้างอิง ทันสมัย น่าเชื่อถือ |
ตรวจเช็คความถูกต้องของ ข้อมูลอีกครั้ง |
|
ไฟล์ข้อเสนอแนะ 2
|