ข้อมูลการลงทะเบียน
 
ชื่อบทความภาษาไทย
ชื่อบทความภาษาอังกฤษ
บทคัดย่อ
อัพโหลดบทคัดย่อ ตรวจสอบ
  ตรวจสอบ
บทความฉบับเต็ม
อัพโหลดบทความฉบับเต็ม ตรวจสอบ
  ตรวจสอบ
อัพโหลดบทความฉบับสมบูรณ์ ตรวจสอบ
  ตรวจสอบ
อัพโหลดผลการปรับแก้บทความตามคำแนะนำของผู้ทรง(ดาวน์โหลดแบบฟอร์ม) ตรวจสอบ
เอกสารตอบรับการเข้าร่วมประชุม ดาวน์โหลดเอกสารตอบรับการประชุม
ข้อเสนอแนะจากผู้ทรงคุณวุฒิ    
ความสอดคล้องเหมาะสมของชื่อเรื่องและวัตถุประสงค์
ควรปรับชื่อเรื่องให้สื่อถึงการวิจัยในช่วงโควิด
ความครอบคลุมและความชัดเจนของบทคัดย่อ
-
ความสอดคล้องของประเด็นปัญหา ความสำคัญ และวัตถุประสงค์ของเรื่องที่ศึกษา
1 ควรเน้นDigital disruption แล้วเชื่อมโยงมายังการดำเนินงานด้านการฝึกอรมที่ต้องปรับเปลี่ยนไป 2. อาจเพิ่มการกำหนดขอบเขตของการฝึกอบรมให้ชัดขึ้น เพราะความต้องการของผู้เรียน องค์กร ที่ต่างกันย่อมมีผลต่อการออกแบบการฝึกอบรมที่แตกต่างกันออกไป เช่น การฝึกอบรม กลุ่มพนักงานต่าง GEN หรือ กลุ่มพนักงานที่ทำงานในภาครัฐ หรือเอกชน เป็นต้น
หากต้องการชี้ประเด็นของการเรียนในช่วงโควิด น่าจะเขียนให้ชัดเจนขึ้น หรือถ้าไม่เกี่ยวกับความสุขในช่วงโควิด ก็ไม่ต้องกล่าวถึง
การเชื่อมโยงของแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และกรอบแนวคิด กับบทความ
1. แนวคิด HRD ควรสังเคราะห์งานวิจัยให้เป็นประเด็นที่ชัดเจน เพราะในเนื่้้อหาแต่ละส่วนนั้น ยังเป็นการจัดเรียงข้อมูลมากกว่าการสังเคราะห์งานวิจัย แล้วบูรณาการเป็นผลงานของผู้วิจัย ผู้วิจัยสามารถสรุปให้กระชับ และเป็นประเด็นที่น่าสนใจได้มากกว่านี้ 2แนวคิดการฝึกอบรม เป็นหัวใจของบทความ ควรทำให้เห็นว่าต่างจาก Hrd อย่างไร ควรอ้างอิงงานของนักวิชาการที่หลากหลายและทันสมัยกว่านี้ 3. แนวคิดยุคดิจิตอล สังเคราะห์ข้อมูลใหม่ ปรับให้กระชับ ว่าคืออะไร มีวิวัฒนาการอย่างไร (เน้นให้เห็นว่าเป็นการสังเคราะห์แล้ว ไม่ใช่การจัดเรียงข้อมูล) 4. ปรับหัวข้อวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ไปเป็นนวัตกรรมการฝึกอบรมเลย โดยำไม่ต้องแต่ประเด็นอื่นในงานHRM
อ้างอิงทฤษฎีหรือนักวิชาการที่นำมาใช้ในการศึกษา นิยาม "ความสุข" ในงานวิจัยนี้ให้ชัดเจน
ความน่าเชื่อถือของวิธีการศึกษา และขั้นตอนการศึกษา
ผู้วิจัยควรระบุเกณฑ์คัดเลือกบทความจาก 4361 บทความ เหลือเพียง 23 บทความ ได้อย่าวงไร
-
ความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของการวิเคราะห์ข้อมูลและการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ขาดการสังเคราะห์ข้อมูล
-
การใช้ข้อมูลสนับสนุนน่าเชื่อถือสมเหตุสมผล ในการสรุปและอภิปรายผล
ขาดการสังเคราะห์ข้อมูล
ยังอภิปรายผลได้ไม่น่าสนใจ น่าจะมีการเปรียบเทียบกับงานวิจัยเดิมมากกว่านี้
ผลการศึกษาก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ และคุณค่าต่อการนำไปใช้ประโยชน์
ข้อเสนอแนะน่าสนใจ
ความชัดเจนและความเหมาะสมของการใช้ภาษา ชัดเจน เข้าใจง่าย เป็นทางการ
ตรวจสอบและแก้ไขคำผิดให้ครบถ้วน
ข้อมูลการอ้างอิง ทันสมัย น่าเชื่อถือ
-