แบบฟอร์มประวัติและผลงานของอาจารย์ (Curriculum Vitae)

ชื่อ-สกุล อาจารย์  ลัดดา  ประสาร 


มหาวิทยาลัยทักษิณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์                   โทรศัพท์  074317600 ต่อ .........
140 ถ.กาญจนวนิช ม.4 ต.เขารูปช้าง อ.เมือง จ.สงขลา 90000           โทรสาร. 074-317606
เบอร์มือถือ                                                      e-mail :


1.การศึกษา (เรียงลำดับจากปีล่าสุด)

วุฒิการศึกษา ชื่อสถาบัน ปี
วารสารศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2542
วารสารศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2537

2. ประสบการณ์ทำงาน (เรียงจากปีล่าสุด)

3. ความเชี่ยวชาญ

สาขาวิชาที่เชียวชาญ
  1. การวิจัยด้านการสื่อสารเพื่อการพัฒนา 2. การสื่อสารเพื่อการสร้างสรรค์การมีส่วนร่วม

4.ประสบการณ์สอน

5.ผลงานทางวิชาการ /ผลงานสร้างสรรค์

ชื่อผลงาน ปี
งานวิจัย
  ลัดดา ประสารและคณะ. (2565-2566) ชุดโครงการวิจัยการพัฒนาตัวแบบธุรกิจเพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของแบรนด์ "กาหลง" เป็นสินค้าเศรษฐกิจใหม่ในภาวะวิกฤตโควิด-19 จ.สตูล. กรุงเทพฯ: หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท)
  ลัดดา ประสาร และคณะ.(2565-2566) โครงการวิจัยแบบจำลองธุรกิจแบบจับคู่ค้าของผลิตภัณฑ์กาบหมาก “แบรนด์กาหลง” สำหรับผู้บริโภคกลุ่มยึดมั่นความเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ :หน่วยบริหารและจัดการทุนเชิงด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท)
  ธนภัทร เต็มรัตนกุล เสริมศักดิ์ ขุนพล และ ลัดดา ประสาร. (2564). การศึกษาผลการใช้หลักสูตรเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ของประชาชนเกี่ยวกับกิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์ เพื่อการใช้ประโยชน์อย่างรู้เท่าทัน. กรุงเทพฯ: กสทช
  ลัดดา ประสาร และคณะ. (2563). โครงการการพัฒนาศักยภาพในการประกอบอาชีพจักสานคลุ้มขอจักสานคลุ้มบ้านทุ่งในของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตภัณฑ์จักสานคลุ้มบ้านทุ่งใน. กรุงเทพ ฯ : กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.).
  เสริมศักดิ์ ขุนพล และ ลัดดา ประสาร. (2562). ให้เหล้าเท่ากับแช่ง : การสร้างสรรค์ การรับรู้ และสนองตอบ ของสื่อภาพยนตร์รณรงค์งดดื่มสุรา Hai Law Taw Kup Cheang: The creativity, awareness and the response of TVC on campaign to anti-drink alcohol. กรุงเทพ ฯ : แผนงานศูนย์วิจัยปัญหาสุรา (ศวส.) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์).
  ลัดดา ประสาร.(2561) . การพัฒนาเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติประเภท “คลุ้ม” กลุ่มชุมชนบ้านทุ่งใน อำเภอนบพิตำ จังหวัดนครศรีธรรมราช. กรุงเทพฯ : มูลนิธิไทยรักษ์ป่า.
  ลัดดา ประสาร และคณะ.(2561).การพัฒนาบุคลากรโรงแรมเพื่อเตรียมความพร้อมรองรับข้อตกลงร่วมว่าด้วยการยอมรับคุณสมบัติบุคลากรวิชาชีพการท่องเที่ยว (MRA): กรณีศึกษาโรงแรม 1-3 ดาว จังหวัดกระบี่. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
  ลัดดา ประสาร และคณะ. (2560). การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกระจูดบ้าน ตำบลแม่เจ้าอยู่หัว อำเภอเชียรใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราชให้เป็นผลิตภัณฑ์ Premium OTOP. กรุงเทพฯ : โครงการ Innovation Hubs เพื่อสร้างเศรษฐกิจฐานนวัตกรรมของประเทศตามนโยบายประเทศไทย 4.0 กลุ่มเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy).
บทความวิจัย
  ลัดดา ประสารและคณะ: การมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อพัฒนาศักยภาพในการประกอบอาชีพ.วารสารวิทยาการจัดการและการสื่อสาร. ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2565, หน้า 42-68.
  ลัดดา ประสาร และ เสริมศักดิ์ ขุนพล.ให้เหล้าเท่ากับแช่ง: การสร้างสรรค์ การรับรู้ และสนองตอบของสื่อภาพยนตร์รณรงค์งดดื่มสุรา. วารสาร CRRU Journal of Communication คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย. ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2564
  ลัดดา ประสาร และ อุไร ไชยเสน. การพัฒนาเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติประเภท “คลุ้ม” กลุ่มชุมชนบ้านทุ่งใน อำเภอนบพิตำ จังหวัดนครศรีธรรมราช. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ “มสธ.วิจัย” ประจำปี 2562. (หน้า 460 - 479) .วันที่ 18 มีนาคม 2562 ณ ห้องประชุม 104 อาคารพิทยพัฒน์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
บทความวิชาการ
  ลัดดา ประสาร. 3 ชุุดคำถามฉายภาพการสื่อสารของรัฐบาลไทยกับการตอบสนองต่อภาวะวิกฤตโรคอุบัติใหม่โควิด-19. วารสารพัฒนศาสตร์ วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2564, หน้า 98-131.
  ลัดดา ประสาร และ เยาวลักษณ์ สุวรรณแข.การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานด้วยกลยุทธ์การบริการสังคมและการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม: ชุมชนน้ำตกปลายน้ำ อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช. ÇÒÃÊÒþѲ¹ÈÒʵÏ ÇÔ·ÂÒÅѾѲ¹ÈÒʵÏ »‰Ç ÍÖê§Àҡó ÁËÒÇÔ·ÂÒÅѸÃÃÁÈÒʵÏ »‚·ี่ 3 ฉºÑº·ี่ 1 Á¡ÃÒ¤Á - ÁԶعÒ¹ 2563, หน้า 138-167.
  ลัดดา ประสาร และ เสริมศักดิ์ ขุนพล. กระบวนการคิดเชิงออกแบบในการพัฒนาและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ลูกประของกลุ่มแปรรูปผลิตภัณฑ์ชุมชนน้ำตกปลายน้ำ อ.พรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติสู่การพัฒนาชุมชนฉลาดในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ครั้งที่ 1 ประจำปี 2563. (หน้า 460 - 479) .วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563 ณ วิทยาลัยพัฒนาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีแห่งเอเชีย. เชีบงใหม่ : มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่.
อื่น ๆ
  มหาวิทยาลัยทักษิณ. นวัตกรรมเด่น ประจำปี 2564. หัวหน้าโครงการการพัฒนาศํกยภาพการประกอบอาชีพจักสานคลุ้ม วิสาหกิจชุมชนจักสานคลุ้มบ้านทุ่งใน