แบบฟอร์มประวัติและผลงานของอาจารย์ (Curriculum Vitae)

ชื่อ-สกุล รองศาสตราจารย์ ดร. สุทธิพร  บุญมาก 


มหาวิทยาลัยทักษิณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์                   โทรศัพท์  074317600 ต่อ .........
140 ถ.กาญจนวนิช ม.4 ต.เขารูปช้าง อ.เมือง จ.สงขลา 90000           โทรสาร. 074-317606
เบอร์มือถือ                                                      e-mail :


1.การศึกษา (เรียงลำดับจากปีล่าสุด)

วุฒิการศึกษา ชื่อสถาบัน ปี
Ph.D. (Social Change and Development) University of Wollongong, Australia 2554
ศศ.ม. (พัฒนาสังคม-วิเคราะห์นโยบายและวางแผนทางสังคม) เกียรตินิยม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 2544
ศศ.บ. (การพัฒนาชุมชน) เกียรตินิยม อันดับ 2 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2540
Certificate in “Conflict Prevention, Resolution & Reconciliation” IPSI The Johns Hopkins University, Italy Campus 2557
Certificate in Case Study NATIONAL RESEARCH UNIVERSITY HIGHER SCHOOL OF ECONOMICS 2561
Certificate in Qualitative Comparative Analysis NATIONAL RESEARCH UNIVERSITY HIGHER SCHOOL OF ECONOMICS 2562

2. ประสบการณ์ทำงาน (เรียงจากปีล่าสุด)

รายละเอียด ปี
รองคณบดี
  รองคณบดีฝ่ายวิชาการและการวางแผน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ 2561
  รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจัย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยทักษิณ 2557
อื่น ๆ
  กรรมการการตรวจประเมินองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดีในระดับพื้นที่โดยสถาบันการศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2563 สำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี 2563
  Visiting Researcher: 2016, Rikkyo University, Japan 2559
ตำแหน่งงาน
  กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยทักษิณ 2565
  กรรมการสภาวิชาการ สถาบันเรียนรู้เพื่อปวงชน 2564
  คณะอนุกรรมการประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืนระดับภาคใต้ ของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๕ 2564
  คณะอนุกรรมการประเมินเมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืนระดับภาค ของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ ๑๖ สงขลา ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓ 2563
  กรรมการตรวจประเมินองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการบริหารจัดการที่ดีในระดับพื้นที่โดยสถาบันการศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2562 สำนักงานคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี 2562
  กรรมการบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยทักษิณ 2560
  กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยทักษิณ 2560

3. ความเชี่ยวชาญ

สาขาวิชาที่เชียวชาญ
  การพัฒนาสังคม การเปลี่ยนแปลงกับการพัฒนา การย้ายถิ่นกับการพัฒนา นโยบายสังคม
หัวข้อที่สนใจ
  ผลกระทบการพัฒนา การย้ายถิ่นกับการพัฒนา นโยบายการพัฒนา
อื่น ๆ
  -

4.ประสบการณ์สอน

รายละเอียด ปี
อาจารย์พิเศษ
  คณะวิทยาการจัดการ คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ -
การสอนระดับปริญญาโท
  การบริหารและพัฒนาสังคม -

5.ผลงานทางวิชาการ /ผลงานสร้างสรรค์

ชื่อผลงาน ปี
งานวิจัย
  อภินันท์ เอื้ออังกูร, สงพงศ์ พรมสะอาด, สานิตย์ ศรีชูเกียรติ, สุธี โง้วศิริ, นวิทย์ เอมเอก, สุทธิพร บุญมาก และปาริฉัตร ตู้ดำ, (2564). การสำรวจรูปแบบการจัดจำหน่วยสัตว์น้ำเศรษฐกิจที่โตไม่ได้ขนาดในประเทศไทยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ : ภาคีเครือข่ายภาคประชาสังคมเพื่ออาหารทะเลที่เป็นธรรมและยั่งยืน
  ทุนวิจัยและนวัตกรรมในประเด็นที่สำคัญของประเทศ ประจำปีงบประมาณ 2563 กลุ่มประชาคมอาเซียน จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ โครงการวิจัยนโยบายการย้ายถิ่นเข้าและการเคลื่อนย้ายแรงงานสำหรับชาวต่างชาติระดับทักษะของประเทศสมาชิกอาเซียนบวกหก: กรณีศึกษาประเทศญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์
  ทุนวิจัยและนวัตกรรมในประเด็นที่สำคัญของประเทศ ประจำปีงบประมาณ 2563 กลุ่มชายแดนใต้ จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ โครงการวิจัยการย้ายถิ่นกลับมาตุภูมิของแรงงานไทยเชื้อสายมลายูจากประเทศมาเลเซีย: ผลลัพธ์ที่มีต่อพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
บทความวิจัย
  สุทธิพร บุญมาก. (2565). นโยบายการย้ายถิ่นแรงงานต่างชาติระดับทักษะและทักษะสูงของประเทศสิงคโปร์. วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ. 35(1): 58-74. (TCI กลุ่มที่ 1) https://doi.org/10.55164/pactj.v35i1.248423
  สมทรง นุ่มนวล, พรพันธุ์ เขมคุณาศัย, ชวน เพชรแก้ว และสุทธิพร บุญมาก. (2564). พื้นที่วัฒนธรรมของแรงงานข้ามชาติชาวพม่าในจังหวัดสุราษฏร์ธานี วารสารนาคบุตรปริทรรศน์. 13(2): 20-31. (TCI กลุ่มที่1)
  สุทธิพร บุญมาก และมูหำหมัด สาแลบิง. (2564). ผลลัพธ์ทางเศรษฐกิจของการย้ายถิ่นระดับทักษะระหว่างประเทศมาเลเซียกับจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย: กรณีศึกษาแรงงานไทยเชื้อสายมลายูระดับทักษะในประเทศมาเลเซีย. วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 11(3): 1-25. (TCI กลุ่มที่ 2)
  สุทธิพร บุญมาก. (2564). นโยบายการย้ายถิ่นแรงงานต่างชาติของประเทศบรูไน. วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ. 34(3): 54-71. (TCI กลุ่มที่ 1) https://so05.tci-thaijo.org/index.php/parichartjournal/article/view/249931/172182
  สุทธิพร บุญมาก. นวิทย์ เอมเอก อภินันท์ เอื้อกังกูร และสานิตย์ ศรีชูเกียรติ. (2563). “การจัดการโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์อาหารทะเลปลอดภัย: กรณีศึกษาร้านคนจับปลาประจวบคีรีขันธ์,” WMS Journal of Management. 8(3): 37-51. (TCI กลุ่มที่ 1)
  สุทธิพร บุญมาก และมูหำหมัด สาแลบิง. (2564). เงื่อนไขเชิงโครงสร้างเกี่ยวกับอุตสาหกรรมบริษัทผู้ให้บริการภายนอกในประเทศมาเลเซียที่มีต่อการย้ายถิ่นแรงงานไทยเชื้อสายมลายูระดับทักษะในประเทศมาเลเซีย. วารสารคณะมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 38(1): 150-175. (TCI กลุ่มที่ 2) https://so01.tci-thaijo.org/index.php/HUSO/article/view/246209
  พัชร แสงสุวรรณ สุทธิพร บุญมาก และเมธี ดิสวัสดิ์. (2563). “ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านครอบครัว และปัจจัยด้านที่ทำงานที่มีต่อองค์ประกอบคุณภาพชีวิตของบุคลากรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย”, วารสารการวิจัย มทร.ศรีวิชัย. 12 (2): 323-334. (TCI กลุ่มที่ 1) https://li01.tci-thaijo.org/index.php/rmutsvrj/article/view/245419
  สานิตย์ ศรีชูเกียรติ อภินันท์ เอื้อกังกูร สุทธิพร บุญมาก และนวิทย์ เอมเอก. (2564). “การจัดการโซ่อุปทานของสินค้าอาหารทะเลปลอดภัย: กรณีศึกษาวิสาหกิจเพื่อสังคมร้านคนจับปลาสตูล”. วารสารเศรษฐศษสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 13(1): รอตีพิมพ์. (TCI กลุ่มที่ 2)
  สุทธิพร บุญมาก และพนิดา เชาว์พาณิชยเจริญ. (2563). “นโยบายการย้ายถิ่นระหว่างประเทศของแรงงานชาวต่างชาติ: กรณีศึกษาการเข้าเมืองและว่าจ้างงานของไต้หวัน” วารสารนานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 20(2): 122-154. (TCI กลุ่มที่ 2) https://so04.tci-thaijo.org/index.php/KKUIJ/article/view/238411
  สุทธิพร บุญมาก. (2562). “นโยบายการย้ายถิ่นระหว่างประเทศของแรงงานชาวต่างชาติระดับทักษะ: กรณีศึกษาการเข้าเมืองและว่าจ้างงานของประเทศมาเลเซีย,” MFU Connexion. 8(1): 258-299. (TCI กลุ่มที่ 1) doi: 10.14456/connexion.2019.8 https://so05.tci-thaijo.org/index.php/MFUconnexion/article/view/241192
  Suttiporn Bunmak. (2019). “Immigrant Entrepreneurs: Migrant Social Networks of Tom Yam Restaurants in Malaysia,” Asian Political Science Review. 3(1): 1-11. [ Ingenta Connect, Elsevier-Social Sciences Research Network] Available at SSRN: https://ssrn.com/abstract=3459308
  สุทธิพร บุญมาก และมูหำหมัด สาแลบิง. (2562). “ความเป็นนานาชาติของสถาบันอุดมศึกษาที่เป็นเงื่อนไขต่อการย้ายถิ่นแรงงานระหว่างประเทศ: แรงงานไทยเชื้อสายมลายูระดับทักษะจากจังหวัดชายแดนภาคใต้สู่ประเทศมาเลเซีย,” วารสาร Veridian E-Journal, Silpakorn University. 12(5): 1124-1139. (TCI กลุ่มที่ 1)
  สุทธิพร บุญมาก และมูหำหมัด สาแลบิง. (2560). “การเคลื่อนย้ายแรงงานชาวไทยเชื้อสายมลายูระดับทักษะจากจังหวัดชายแดนภาคใต้สู่ประเทศมาเลเซีย,” วารสารราชพฤกษ์. 15(2):1-8 (TCI กลุ่มที่ 1) https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/170997
  ปาริฉัตร ตู้ดำ นวิทย์ เอมเอก และสุทธิพร บุญมาก. (2560). “สถานการณ์ กลยุทธ์และการปรับตัวของผู้ประกอบการธุรกิจที่พักในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้,” วารสาร Veridian E-Journal, Silpakorn University. 10(3): 800-818. (TCI กลุ่มที่ 1)
  พีรนาฏ คิดดี และสุทธิพร บุญมาก. (2559). “การขับเคลื่อนและอุปสรรคของการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย,” วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์. 8(8) : 145-158. (TCI กลุ่มที่ 1) https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/JSTNSRU/article/view/66366
  Thudam, P., Trichun, C. & Bunmak, S. (2015). “Major factors affecting Female executives in their career advancement,” Kasetsart Journal: Social Sciences, 36(1),97-108. [ (TCI-G1), ASEAN Citation Index (ACI), Scopus and ScienceDirect ]
  สุทธิพร บุญมาก. (2558). “ความคิดเห็นของประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่มีต่อการประกาศบังคับใช้พระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 เขตพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้,” วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ. 28(1) : 136-155. (TCI กลุ่มที่ 1)
  Suttiporn Bunmak. (2014). “Tom Yam Restaurants: An Ethnic Interplay in Malaysia Context,” Kasetsart Journal Social Sciences. 34(3): 525-533. . [ (TCI-G1), ASEAN Citation Index (ACI), Scopus and ScienceDirect ]
  Suttiporn Bunmak. (2013). “Migrant networks and Gender Issues Among Migrant Nayu Workers to Malaysia,” Journal of Ritsumeikan Social Sciences and Humanities. 2013(6): 23-40.
  Suttiporn Bunmak. (2013). “Gender-Differentiated patterns of migrant network: The case of Nayu migrant workers in Malaysia,” Kasetsart Journal Social Sciences. 36(1): 105-115.. [ (TCI-G1), ASEAN Citation Index (ACI), Scopus and ScienceDirect ]
  Suttiporn Bunmak. (2012). “Cell phone networks and migrant networks: The case of Nayu migrant workers in Malaysia,” Geografia-Malaysia Journal of Society and Space. 8(1): 38-49. [ERA, DOAJ, MyAIS, Sirimalaysia.com, Open J-Gate and Ulrich]
  Suttiporn Bunmak. (2012). “The creation of Malay-Thai labor networks in Tom Yam restaurants, Malaysia,” Kasetsart Journal Social Sciences. 35(1): 14-26. . [ (TCI-G1), ASEAN Citation Index (ACI), Scopus and ScienceDirect ]
  Suttiporn Bunmak. (2012). “Position and meaning of Tom Yam restaurants in Malaysia,” Rian Thai: International Thai Studies 5(2012) : 1-22. [ วารสารระดับนานาชาติที่พิมพ์ในประเทศไทย สกว ยอมรับ ]
  Suttiporn Bunmak. (2011). “Migrant networks of irriegular Nayu workers in Malaysia- The case of the Tom Yam restaurants in Kuala Lumpur,” Geografia-Malaysia Journal of Society and Space. 7(2): 37-44. [ERA, DOAJ, MyAIS, Sirimalaysia.com, Open J-Gate and Ulrich]