แบบฟอร์มประวัติและผลงานของอาจารย์ (Curriculum Vitae)

ชื่อ-สกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์  วรุตม์  นาที 


มหาวิทยาลัยทักษิณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์                   โทรศัพท์  074317600 ต่อ .........
140 ถ.กาญจนวนิช ม.4 ต.เขารูปช้าง อ.เมือง จ.สงขลา 90000           โทรสาร. 074-317606
เบอร์มือถือ                                                      e-mail :


1.การศึกษา (เรียงลำดับจากปีล่าสุด)

วุฒิการศึกษา ชื่อสถาบัน ปี
วท.ม.ภูมิศาสตร์ ม.เชียงใหม่ 2546
วท.บ.ภูมิศาสตร์ ม.ทักษิณ 2541

2. ประสบการณ์ทำงาน (เรียงจากปีล่าสุด)

3. ความเชี่ยวชาญ

สาขาวิชาที่เชียวชาญ
  ภูมิสารสนเทศ การท่องเที่ยว

4.ประสบการณ์สอน

รายละเอียด ปี
การสอนระดับปริญญาโท
  ศศ.ม. ภูมิสารสนเทศเพื่อการจัดการเชิงพื้นที่ รายวิชาต่อไปนี้ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ การวิเคราะห์และแปลความหมายภาพเชิงตัวเลข สัมมนาภูมิสารสนเทศ -
การสอนระดับปริญญาตรี
  วท.บ.ภูมิศาสตร์ รายวิชาต่อไปนี้ โฟโตแกรมเมตรี ภูมิศาสตร์ภูมิภาค การสำรวจในสนามทางภูมิศาสตร์ วิธีการสถิติทางภูมิศาสตร์ การรับรู้จากระยะไกล การจัดการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ การสำรวจในสนามทางภูมิศาสตร์ คอมพิวเตอร์สำหรับนักภูมิศาสตร์ โฟโตแกรมเมตรีเชิงตัวเลข เทคนิคการนำเสนองานทางภูมิศาสตร์ การใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และการรับรู้จากระยะไกลทางกายภาพ ปัญหาพิเศษทางภูมิศาสตร์ -

5.ผลงานทางวิชาการ /ผลงานสร้างสรรค์

ชื่อผลงาน ปี
งานวิจัย
  อดิศร ศักดิ์สูง, ฐากร สิทธิโชค, วรุตม์ นาที, อัศว์ศิริ ลาปีอี, สุกันย์ยา ภาวจิตรานนท์ และอรัตนยา โอสถาน. (2560). การประเมินผลโครงการตามนโยบาย "3ล้าน3ปี เลิกบุหรี่ทั่วไทยเทิดไท้องค์ราชัน" กรณีศึกษาเชิงพื้นที่จังหวัดสงขลาและจังหวัดสตูล. สงขลา : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.
  วรุตม์ นาที. (2560). การประยุกต์ใช้ภูมิสารสนเทศเพื่อการเตรียมความพร้อมอุทกภัยในตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา. สงขลา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ.
  ประมาณ เทพสงเคราะห์ และวรุตม์ นาที. (2555). การสร้างฐานข้อมูลเพื่อสนับสนุนระบบการตัดสินใจเลือกแหล่งการจัดการความรู้ของชุมชนโดยใช้ภูมิสารสนเทศพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.
  วรุตม์ นาที และศุภรัตน์ พิณสุวรรณ. (2555). การประเมินศักยภาพของชีวมวลในพื้นที่จังหวัดทางภาคใต้ของประเทศไทยโดยใช้ภูมิสารสนเทศ. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.
  วราภรณ์ ทนงศักดิ์, วรุฒม์ นาที และสมสมัย เอียดคง. (2554). การกระจายตามธรรมชาติและการใช้ประโยชน์เสม็ดขาวบริเวณลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.
บทความวิจัย
  ประมาณ เทพสงเคราะห์ และวรุตม์ นาที. (2560). "การสร้างฐานข้อมูลและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้ของทุนชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืนพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา," อินทนิลทักษิณสาร มหาวิทยาลัยทักษิณ. 12(2), 59-71.
  ประมาณ เทพสงเคราะห์, จรินทร์ เทพสงเคราะห์, อดิศร ศักดิ์สูง, ศุภการ สิริไพศาล, พรศักดิ์ พรหมแก้ว และวรุตม์ นาที. (2556). “การจัดการความรู้บนฐานทุนชุมชนเพื่อการพัฒนา คุณภาพชีวิตอย่างยั่งยืน ในพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา,” การพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 1(3), 217-237.
หนังสือ
  อดิศร ศักดิ์สูง และคณะ. (2558). พลวัตสังคมโลกและสังคมไทย. สงขลา : นำศิลป์โฆษณา.
เอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน
  วรุตม์ นาฑี. (2557). Digital Photogrammetry. สงขลา : มหาวิทยาลัยทักษิณ.
การนำเสนอผลงาน
  อัศว์ศิริ ลาปีอี, อดิศร ศักดิ์สูง, วรุตม์ นาฑี และศัญฒภัท ทองเรือง. (2561). "การเก็บรวบรวมและสังเคราะห์ข้อมูลประเพณีลงเล อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี," ใน รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติทางการจัดการครั้งที่ 1 "การจัดการความท้าทายในยค 4.0". (หน้า 274-281). วันที่ 29 มิถุนายน 2561. ณ โรงเเรมนิวซีซั่น สแควร์ หาดใหญ่ สงขลา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ.
  อัศว์ศิริ ลาปีอี, อดิศร ศักดิ์สูง, วรุตม์ นาฑี และศัญฒภัท ทองเรือง. (2560). "บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการส่งเสริมมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม กรณีศึกษาประเพณีลงเล อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี," ใน รายงานการประชุมวิชาการ การนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 9 "การบูรณาการงานวิจัย เพื่อพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน". วันที 31 พฤษภาคม 2560. ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ภูเก็ต : มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต.