แบบฟอร์มประวัติและผลงานของอาจารย์ (Curriculum Vitae)

ชื่อ-สกุล รองศาสตราจารย์ ดร. พัชลินจ์  จีนนุ่น 


มหาวิทยาลัยทักษิณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์                   โทรศัพท์  074317600 ต่อ .........
140 ถ.กาญจนวนิช ม.4 ต.เขารูปช้าง อ.เมือง จ.สงขลา 90000           โทรสาร. 074-317606
เบอร์มือถือ                                                      e-mail :


1.การศึกษา (เรียงลำดับจากปีล่าสุด)

วุฒิการศึกษา ชื่อสถาบัน ปี
อ.ด. (ภาษาไทย,สายวรรณคดีไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2555
อ.ม.(ภาษาไทย) ศิลปากร 2547
ศศ.บ. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2543

2. ประสบการณ์ทำงาน (เรียงจากปีล่าสุด)

3. ความเชี่ยวชาญ

สาขาวิชาที่เชียวชาญ
  -วรรณคดีไทย วรรณกรรมร่วมสมัย วรรณกรรมท้องถิ่น การเขียนวรรณกรรมสำหรับเด็ก วรรณกรรมกับความสัมพันธ์ในบริบทต่าง ๆ ทฤษฎีวรรณคดี

4.ประสบการณ์สอน

รายละเอียด ปี
การสอนระดับปริญญาเอก
  สัมมนาการวิจัยทางวัฒนธรรม -
การสอนระดับปริญญาโท
  รายวิชาทฤษฎีวรรณคดีสัมมนาความรู้ทางวรรณคดีไทยสัมมนาวรรณคดีแบบฉบับสัมมนาการศึกษาวรรณคดีไทย -
การสอนระดับปริญญาตรี
  10 ปี รายวิชา วรรณคดีเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ วรรณกรรมศึกษา วรรณกรรมวิจารณ์ การเขียนวรรณกรรมสำหรับเด็ก วรรณกรรมท้องถิ่น -

5.ผลงานทางวิชาการ /ผลงานสร้างสรรค์

ชื่อผลงาน ปี
งานวิจัย
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2565.). การประกอบสร้างภาพลักษณ์ “ชุมชนภาคใต้” จากวรรณกรรมประวัติศาสตร์ภาคใต้ ชุด ประวัติพัทลุง-ตรัง (ตอนต้น). สงขลา:คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. (ทุนสนับสนุนจากงบประมาณเงินรายได้ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประจำปี 2563)
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2563). สถานภาพการวิจัยวรรณกรรมท้องถิ่นภาคเหนือ อีสาน และกลางในรอบสองทศวรรษ (พ.ศ.2540-2560). พัทลุง: มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง. (ทุนสนับสนุนจากงบประมาณเงินรายได้ กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยทักษิณ ประจำปี 2561) .
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2562). องค์ความรู้และทิศทางการทำวิจัยวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ในรอบสองทศวรรษ (พ.ศ. 2540-2560). สงขลา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ.
  ธนภัทร เต็มรัตนะกุล พัชลินจ์ จีนนุ่น เชิดศักดิ์ เกื้อรักษ์ และนพดล สาลีโภชน์. (2561). แนวทางการสื่อสารความรู้ในโครงการวิจัยแบบกลุ่มวิชาการ กรณีศึกษา โครงการวิจัยภายใต้โครงการการบริหารจัดการน้ำแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตคนลุ่มน้ำอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ : สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2561). ภูมิปัญญาของคนไทย: ศึกษาจากวรรณกรรมคำสอนภาคกลางยุคการพิมพ์ (พ.ศ. 2459 – 2493). กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น วราเมษ วัฒนไชย ปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2560). วรรณกรรมภาคใต้ยุคการพิมพ์ พ.ศ. 2470 – 2520: ความหลากหลาย คุณค่าและภูมิปัญญา. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
  พินิจ ดวงจินดา สุธาสินี บุญญาพิทักษ์ อุไรวรรณ ทองแกมแก้ว ธนภัทร เต็มรัตนะกุล พัชลินจ์ จีนนุ่น สุนิสา คงประสิทธิ์ และชาลินี สะท้านบัว. (2559). การประเมินการบริหารจัดการน้ำแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาชีวิตคนลุ่มน้ำอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาคลองป่าพะยอมคลองท่าแนะ. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
  พัชลินจ์ จีนนุ่น คุณัชญ์ สมชนะกิจ และธนภัทร เต็มรัตนะกุล. (2557). หลักและวิธีสอนคุณธรรมจริยธรรมที่เหมาะสมกับเยาวชนจากวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ชุด วรรณกรรมทักษิณ: วรรณกรรมคัดสรร. สงขลา: กองทุนวิจัย งบประมาณรายได้ มหาวิทยาลัยทักษิณ.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น และวราเมษ วัฒนไชย. (2557). อัษฎาพานรคำกาพย์ภาคใต้: ลักษณะร่วมและการสร้างสรรค์เฉพาะถิ่น. สงขลา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ.
บทความวิจัย
  กลุณัฐ บางสุข พัชลินจ์ จีนนุ่น วราเมษ วัฒนไชย. (2567). ภาพแทน “ร้านหนังสือ” ในนวนิยายเรื่อง ร้านหนังสือ 24 ชั่วโมงสุดท้าย ของ กิตติศักดิ์ คงคา,” วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 27(1), 1-19.
  มงคล พรหมมูล พัชลินจ์ จีนนุ่น และมาโนช ดินลานสกูล. (2566). ความรุนแรงในนวนิยายวายของ JittiRain. วารสารศรีนครินทรวิโรฒและวิจัย (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 15, 30 (กรกฎาคม 2566- ธันวาคม 2566) , 1-13.
  นนทชัย ชูวรรณรักษ์ พัชลินจ์ จีนนุ่น และปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์. (2566). ปัญหาความรักชายรักชาย ในวรรณกรรมเรื่องคุณหมีปาฏิหาริย์. วารสารศิลปศาสตร์. 23, 1 (มกราคม - เมษายน 2566) (TCI กลุ่มที่ 1),91-116.
  กรกนก โพธิ์แก้ว และพัชลินจ์ จีีนุ่น. (2566). การพัฒนาการอ่านเชิงวิเคราะห์ภาษาไทย โดยใช้การสอนแบบ 4 MAT ร่วมกับหนังสือนิทานพื้นบ้านชุด “สืบสานนิทานใต้” ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. คุรุสภาวิทยาจารย์. 14,3 (กันยายน-ธันวาคม 2566), 93-107.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2566). “ภาพลักษณ์ “ชุมชนภาคใต้” จากวรรณกรรมประวัติศาสตร์ภาคใต้ เรื่อง ประวัติพัทลุง-ตรัง (ตอนต้น).”วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 23, 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2566).1-32.
  ภควันต์ ชูเย็น อลิษา คุ่มเคี่ยม พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2565). สถานภาพและบทบาทสตรีวนวรรณกรรมหนังตะลุงของหนังกั้น ทองหล่อ. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 39,3 (กันยายน-ธันวาคม 2565)
  ศิวกร แรกรุ่น มาโนช ดินลานสกูล และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2565). สัจนิยมมหัศจรรย์ในนวนิยายเรื่อง สมิงสำแดง ของเอกา กุรณียาวัน. วารสารศิลปศาสตร์. 22, 3 (กันยายน - ธันวาคม พ.ศ. 2565) (TCI 1),
  ษมาวีร์ บุญรอด อนินท์ พุฒิโชติ พัชลินจ์ จีนนุ่น, ธนภัทร เต็มรัตนะกุล. (2565). การต่อรองและการสร้างพื้นที่ทางสังคมของครูกะเทย ในบริบทจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารอินทนิลทักษิณสาร. 17, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2565), 37-62.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2565). “ภูมิปัญญาการสร้างสรรค์ทางสุนทรียะของคนไทยจากวรรณกรรมคำสอนภาคกลางยุคการพิมพ์ (2459-2493)”. วารสารมนุษยศาสตร์ ขอนแก่น. 39, 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2565) (TCI กลุ่มที่ 2),1-24.
  ซาเราะห์ วัฒนะ พรพันธุ์ เขมคุณาศัย อนินทร์ พุฒิโชติ พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2565). ความหมาย “พลู” ในพิธีกรรมการเปลี่ยนผ่านสู่ความเป็นแม่ในสังคมมลายู จังหวัดสตูล. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี. 14, 1 (มกราคม-มิถุนายน 2565), 59-87. (TCI 2)
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2564). “สถานภาพการวิจัยวรรณกรรมท้องถิ่นภาคกลางในรอบสองทศวรรษ (พ.ศ. 2540-2560)”. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2564), 214-237.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2564). “สถานภาพการวิจัยวรรณกรรมท้องถิ่นภาคเหนือในรอบสองทศวรรษ (พ.ศ. 2540-2560)”. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 18, 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2564) , 41-58.
  ศิริอร เพชรภิรมย์ พรพันธุ์ เขมคุณาศัย ชวน เพชรแก้ว และพัชลินจ์ จีนนุ่น. พลวัตวิธีวิทยาวัฒนธรรมศึกษาภาคใต้ผ่านงานเขียนของศาสตราจารย์สุธิวงศ์ พงศ์ ไพบูลย์. วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี. ปีที่ 8, 1 (มกราคม – มิถุนายน 2564), 161-198.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2563). สถานภาพการวิจัยวรรณกรรมท้องถิ่นภาคอีสานในรอบสองทศวรรษ (พ.ศ. 2540-2560)”. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ 37, 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2563),228-257.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. สถานภาพการวิจัยวรรณกรรมท้องถิ่นภาคเหนือ อีสานและกลางในรอบสองทศวรรษ (พ.ศ. 2540-2560)”. วารสารอินทนิลทักษิณสาร. 15,1(มกราคม-มิถุนายน 2563),49-83.
  นายูฮัน กูจิ พัชลินจ์ จีนนุ่น และมณฑนา พิพัฒน์เพ็ญ.. (2563). “การสร้างหนังสือส่งเสริมการอ่าน ชุด ตำนานเมืองปตานี จังหวัดปัตตานี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ตามกระบวนทัศน์สร้างสรรค์สังคม”. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. ปีที่ 20,2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2563
  สุพล จินตเมฆา พัชลินจ์ จีนนุ่น และปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์. (2563). “ภาษา ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นและสภาพสังคมวัฒนธรรม ภาพสะท้อนจากภูมินามหมู่บ้านในจังหวัดสตูล”. วารสารวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ปีที่ 10,2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2563. 7-18.
  รื่นฤทัย รอดสุวรรณ พรพันธุ เขมคุณาศัย พัชลินจ จีนนุน และ พรไทย ศิริสาธิตกิจ. (2563). เรื่องเลาและการเลาเรื่องโนราจากความทรงจําของชุมชนลุมทะเลสาบสงขลาตอนลาง. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. ปีที่ 12, 2 (ก.ค.-ธ.ค. 63), 105-127.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น วราเมษ วัฒนไชย และปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2561). รูปแบบและเนื้อหาของวรรณกรรมภาคใต้ยุคการพิมพ์ พ.ศ. 2470–2520”. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. ปีที่ 7,2 (กรกฎาคม2561-ธันวาคม2561),105-123.
  ธนภัทร เต็มรัตนะกุล พัชลินจ์ จีนนุ่น เชิดศักดิ์ เกื้อรักษ์ นพดล สาลีโภชน์. (2561). การบูรณาการการเรียนการสอนนิเทศศาสตร์ผ่านโครงการวิจัยชุมชน. วารสารอินทนิลทักษิณสาร ฉบับพิเศษ. 13,3 (มกราคม-ธันวาคม 2561).
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2561). “ทิศทางการทำวิจัยวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ในรอบสองทศวรรษ (พ.ศ. 2540-2560). วารสารอินทนิลทักษิณสาร. ปีที่ 13 ฉบับที่ 3 (ฉบับพิเศษ) 2561, 83-111.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2560). "ภูมิปัญญาของคนไทย: ศึกษาจากวรรณกรรมคำสอนภาคกลางยุคการพิมพ์ (พ.ศ. 2459 – 2493)," คณะมนุษยศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 39(2), 33 -55.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2560). “อิทธิพลของสุนทรภู่ที่มีต่อการสร้างสรรค์หนังสือวัดเกาะภาคใต้ช่วงพ.ศ. 2470 - 2520," มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 9(1), 127-147
  อุไรวรรณ ทองแกมแก้ว พินิจ ดวงจินดา สุธาสินี บุญญาพิทักษ์ สุนิสา คงประสิทธิ์ ธนภัทร เต็มรัตนะกุล พัชลินจ์ จีนนุ่น ชาลินี สะท้านบัว พรพันธุ์ เขมคุณาศัย และเบญจวรรณ บัวขวัญ. (2560). "การประเมินแบบมีส่วนร่วมในระบบการบริหารจัดการกลุ่มวิจัย: กรณีศึกษาการปฏิบัติที่ดี," วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 5(3), 446 - 456.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น วราเมษ วัฒนไชย ปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2560). “คุณค่าและภูมิปัญญาจากวรรณกรรมภาคใต้ยุคการพิมพ์ พ.ศ. 2470 – 2520," มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 12(2), 9-33.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น คุณัชญ์ สมชนะกิจ และธนภัทร เต็มรัตนะกุล. (2559). “หลักและวิธีสอนคุณธรรมจริยธรรมที่เหมาะสมกับเยาวชนจากวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ชุด วรรณกรรมทักษิณ: วรรณกรรมคัดสรร,” ปาริชาต. 29(1), 58-83.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น และวราเมษ วัฒนไชย. (2558). “อัษฎาพานรคำกาพย์ภาคใต้: ลักษณะร่วมและการสร้างสรรค์เฉพาะถิ่น," คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 9(2), 61-85. (ตุลาคม 2557 – มีนาคม 2558) :61-85
  พัชลินจ์ จีนนุ่น และวราเมษ วัฒนไชย. (2558). “ลักษณะร่วมและการสร้างสรรค์ของเรื่องอัษฎาพานรคำกาพย์ภาคใต้ด้านเนื้อหาคำสอนและกลวิธีการสอน," คณะมนุษยศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 37(2), 67-90.
บทความวิชาการ
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2566). คำกลอนการขุดพระ: เรื่องเล่าเกี่ยวกับการขุดพระกรุ ปัญหาและแนวทางแก้ปัญหาจากวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ที่แต่งในทศวรรษ 2500. วารสารมนุษยศาสตร์ นเรศวร. 14, 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2566), 92-106.
  ศิวกร แรกรุ่น และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2566). “ร้้านขายเวลา: นััยแห่่ง “เวลา” ที่่ยึึดโยงกัับอารมณ์์และจิิตวิิญญาณของมนุษย์”. วารสารอินทนิลทักษิณสาร. 18,1 (มกราคม–เมษายน 2566), 53-75.
  ณัฐวุฒิ สำลี และพัชลินจ์ จีนนุ่น. นิราสไพ่: มองสังคมการพนันในยุคการสร้างชาติ. วาสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 42,6 (2023): 910-920.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2563). ภาพสะท้อนการเล่นหวยของชาวใต้จากวรรณกรรมภาคใต้ที่พิมพ์เผยแพร่ในทศวรรษ 2490 – 2510. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ปีที่ 7, 2 (กรกฎาคม 2563-ธันวาคม 2563),174-188.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2562). ฉันท์นางโสภณีกับรากษส: จากเทพนิยายตะวันตกเรื่องโฉมงามกับเจ้าชายอสูรสู่วรรณคดีแบบไทย. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่16, 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2562) , 23-39.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2562). วิถีแห่งการปฏิบัติตนที่เชื่อมโยงกับกฎหมายจากวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้. วารสารวิชาการนิติศาสตร์. ปีที่7, 9 (กรกฎาคม 2561-มิถุนายน 2562), 1-19.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2561). “วรรณกรรมคำสอนภาคใต้สมัยโบราณ: สัมพันธบท ผู้คนและตัวตนของชาวใต้," มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 10(2), 67-109.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2561). "หญิงแสร้ หญิงแหม่ ชายร่ายครู”: มโนทัศน์ว่าด้วยลักษณะหญิงชายที่ไม่พึงประสงค์ในสังคมภาคใต้และความคิดร่วมกับคนในสังคมปัจจุบัน," มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 12(2), 9-36.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2560). “คุณสมบัติของ “หญิงดี” ใน สุภาษิตสอนหญิงภาคใต้ที่สัมพันธ์กับความคิดความเชื่อทางพระพุทธศาสนา," ศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 9(17), 160-175.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2550). “ศักดิ์ศรีของหนุมานในรามเกียรติ์ฉบับต่าง ๆ," มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 1(2), 168-182.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2548). “ท้าวแสนปม : การเชื่อมโยงจากตำนานสู่บทละครและปัญหาการท้องก่อนแต่ง,” สำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยทักษิณ. 4(2), 85-92.
ตำรา
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2562). วรรณคดีเกี่ยวกับประวัติศาสตร์. สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2559). วรรณคดีเกี่ยวกับประวัติศาสตร์. สงขลา : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ.
เอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน
  พัชลินจ์ จีนนุ่น. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 0111412 การเขียนวรรณกรรมสำหรับเด็ก. สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.
อื่น ๆ
  ธนภัทร เต็มรัตนะกุล และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2559). วีดิทัศน์สื่อสารบทบาทของมหาวิทยาลัย ชุดที่ 1 โครงการบริหารจัดการน้ำแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาชีวิตคนลุ่มน้ำแบบยั่งยืน กรณีศึกษา คลองท่าแนะ คลองป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง. มหาวิทยาลัยทักษิณและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
การนำเสนอผลงาน
  ปรียานุช เอียดปราบ พัชลินจ์ จีนนุ่น และสุธาสินี บุญญาพิทักษ์. (2566). การสร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติมสารคดีท่องเที่ยว "ตะลุยแดนยาลอ" เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ใน การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 4 (TSU-HUSOICON) (107-118). วันศุกร์ที่ 28 เมษายน 2566 ณ โรงแรมบุรีศรีภู คอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
  สุชาดา สุดจันทร์ พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2565). สถานภาพการวิจัยวรรณกรรมประเภทสารคดีในวิทยานิพนธ์ไทย (พ.ศ.2537 – 2564) ใน การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ราชภัฏสุราษฎร์ธานีวิจัย ครั้งที่ 17 “การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมภายหลังโควิด-19” (หน้า 603-610). วันที่ 6-8 มิถุนายน 2565 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
  มูนา หวันนุรัตน์ พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2565). สถานภาพการศึกษาวรรณกรรมวายในผลงานวิชาการไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2560 - พ.ศ. 2564 ใน การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ราชภัฏสุราษฎร์ธานีวิจัย ครั้งที่ 17 “การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมภายหลังโควิด-19” (หน้า 611-620). วันที่ 6-8 มิถุนายน 2565 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
  กรกนก โพธิ์แก้ว พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2565). มุมมองวรรณกรรมไทยร่วมสมัยของนักวิจัยต่างสาขา. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ราชภัฏสุราษฎร์ธานีวิจัย ครั้งที่ 17 “การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมภายหลังโควิด-19” (หน้า 591-602). วันที่ 6-8 มิถุนายน 2565 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
  รอฮีหม๊ะ ดือเระ พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2565). สถานภาพการวิจัยวรรณกรรมสำหรับเด็กและเยาวชนในวิยานิพนธ์ไทยช่วงปี พ.ศ. 2537 – 2563 ใน การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ราชภัฏสุราษฎร์ธานีวิจัย ครั้งที่ 17 “การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมภายหลังโควิด-19” (หน้า 581-590). วันที่ 6-8 มิถุนายน 2565 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
  อภิชัย จันทร์เกษ พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2565). สถานภาพงานพระนิพนธ์สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส ในงานวิชาการของไทย พ.ศ. 2513-2564. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ smarts ครั้งที่ 11 “NEW NORMAL, NEW THINKING, NEW CHALLENGES” (หน้า 322-337). วันที่ 24 มิถุนายน 2564 ณ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  Xiao hua He และพัชลินจ์ จีนนุ่น (2565). ภาพแทนของชาวจีนสู้ชีวิตในนวนิยายเรื่องไล่ตงจิ้น ลูกขอทาน ผู้ไม่ยอมแพ้ต่อชะตาชีวิต. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 4 “มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์กับการพัฒนาเชิงพื้นที่ในบริบท BCG” (หน้า 589-601). ระหว่างวันที่ 21-22 กรกฎาคม 2565 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
  อธิภัทร เอิบกมล พัชลินจ์ จีนนุ่น อลิษา คุ่มเคี่ยม. (2565). ทัศนะทางสังคมในวรรณกรรมเพลงแร็ป (พ.ศ. 2554-2564). ใน งานสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 21 “Making Sense of the Worlds : วิธีวิทยาของการประกอบสร้างโลกที่เราอยู่” (หน้า 471-494). วันที่ 16 - 17 มิถุนายน 2565 (รูปแบบออนไลน์) ณ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  ทัศศิยาภรณ์ สุขสง ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์ พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2565). แนวคิดการเรียนรู้เพื่อบรรลุศาสตร์ต่าง ๆ และเป้าหมายแห่งชีวิต. ใน งานสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 21 “Making Sense of the Worlds : วิธีวิทยาของการประกอบสร้างโลกที่เราอยู่” (หน้า 447-470). วันที่ 16 - 17 มิถุนายน 2565 (รูปแบบออนไลน์) ณ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  Xiao hua He และพัชลินจ์ จีนนุ่น (2565). สถานภาพองค์ความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรมหนังตะลุงของประเทศจีน. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 4 “มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์กับการพัฒนาเชิงพื้นที่ในบริบท BCG” (หน้า 577-587). ระหว่างวันที่ 21-22 กรกฎาคม 2565 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.
  ภูริณัฐ พฤกษ์เนรมิตร พัชลินจ์ จีนนุ่น ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์. (2565). อาการ อารมณ์ และความทรงจำจากการถวิลหาอดีตในเรื่องสั้นไทยร่วมสมัยตั้งแต่ พ.ศ. 2557 – 2562. ใน งานสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 21 “Making Sense of the Worlds : วิธีวิทยาของการประกอบสร้างโลกที่เราอยู่” (หน้า 316-343). วันที่ 16 - 17 มิถุนายน 2565 (รูปแบบออนไลน์) ณ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  ศิวกร แรกรุ่น พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2565). การสื่อสาร “เรื่องเล่าเกี่ยวกับหนังสือ” จากวรรณกรรมช่วง พ.ศ. 2545 - พ.ศ 2564. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ราชภัฏสุราษฎร์ธานีวิจัย ครั้งที่ 17 “การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมภายหลังโควิด-19” (หน้า 621-630). วันที่ 6-8 มิถุนายน 2565 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
  ONG SHIN ROW และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2564). การดัดแปลงตัวละครในวรรณคดีเรื่องอิเหนาผู้ชายที่เป็นตุ๊ดแล้วเป็นทอมต่ออีกทีที่มาจากวรรณกรรมเรื่องอิเหนา ฉบับหิกะยัต ปันหยี สะมิหรัง. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ และนานาชาติ ครั้งที่ 12 (หน้า 407-417). วันศุกร์ที่ 25 มิถุนายน 2564 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา.
  อธิภัทร เอิบกมล และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2564). สถานภาพการศึกษาวรรณกรรมโดยใช้แนวคิดอัตลักษณ์ (identity) ในงานวิทยานิพนธ์ไทย (พ.ศ.2543-2563). การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ และนานาชาติ ครั้งที่ 12 (หน้า 511-529). วันศุกร์ที่ 25 มิถุนายน 2564 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา.
  อธิภัทร เอิบกมล และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2564). ภาพสะท้อนปัญหาสังคมที่เกิดจากอำนาจรัฐในเพลงแร็ป: จากศิลปินอเมริกันสู่ศิลปินไทย. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ และนานาชาติ ครั้งที่ 12 (หน้า 256-272). วันศุกร์ที่ 25 มิถุนายน 2564 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา.
  ภูรินัฐ พฤฏษ์เนรมิต และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2564). การ “เปลื้อง” “เปลือย” จิตใจมนุษย์ผ่านเรื่องเล่าในมนุษย์สองหน้าของ อัลแบร์ กามูส์ กับผีอยู่ในบ้านของ กนกพงศ์ สงสมพันธุ์. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ และนานาชาติ ครั้งที่ 12 (หน้า 297-310). วันศุกร์ที่ 25 มิถุนายน 2564 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา.
  He Xiao hua และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2564). สถานภาพการวิจัยวรรณกรรมจีนในผลงานวิชาการในรอบทศวรรษ (พ.ศ.2553-2563). การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ และนานาชาติ ครั้งที่ 12 (หน้า 706-718). วันศุกร์ที่ 25 มิถุนายน 2564 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา.
  กานต์ธิดา และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2564). สถานภาพการศึกษาวรรณกรรมบนสื่ออิเลกทรอนิกส์ในงานวิชาการไทยในรอบ 12 ปี (พ.ศ.2551-2563). การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ และนานาชาติ ครั้งที่ 12 (หน้า 691-705). วันศุกร์ที่ 25 มิถุนายน 2564 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา.
  นวพร สายไหม พัชลินจ์ จีนนุ่น ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์. (2564). ภาพลักษณ์ตัวละครผีในวรรณกรรมของภาคินัย. การประชุมสัมมนาวิชาการและการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติเครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 21. (284-294). วันศุกร์ที่ 9 มิ.ย. 2564 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
  Touchsiyaporn Suksong and Phatchalin Jeennoon. (2021). The Struggle and the Adaptation of Marginal Characters in the Thai Novel “Chabpon”. (pp. 1828-1843). The 12th Hatyai National and International Conference. Online Conference. 25 June 2021 Hatyai University, Songkhla province.
  คุณาภรณ์ ทองลอย และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2564). ระหว่างทางกลับบ้าน : การถวิลหาบ้านเกิดในกวีนิพนธ์ไทยที่ได้รับรางวัลซีไรต์ ปี 2562. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ และนานาชาติ ครั้งที่ 12 (หน้า 356-369). วันศุกร์ที่ 25 มิถุนายน 2564 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา.
  ทัศศิยาภรณ์ สุขสง และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2564). กลวิธีการนำเสนอตัวละครเด็กพิเศษในวรรณกรรมไทยวรรณกรรมใต้หวัน: การสร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคม. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ และนานาชาติ ครั้งที่ 12 (หน้า 284-296). วันศุกร์ที่ 25 มิถุนายน 2564 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา.
  ปภัสรา แก้วสี พัชรา นาคแก้ว รัชฎากร ชูจันทร์เมือง ณัฐธิดา วิริยะสัทธา มาโนช ดินลานสกูล พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2564). สถานภาพการวิจัยโดยใช้แนวคิดนิเวศสำนึกในช่วงพศ.2537-2563. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ และนานาชาติ ครั้งที่ 12 (หน้า 418-433). วันศุกร์ที่ 25 มิถุนายน 2564 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา.
  ปริยาภัทร เพ็ชรจรูญ พัชลินจ์ จีนนุ่น ฉันทัส ทองช่วย. (2564). คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของพลเมืองเด็กที่ปรากฏในบทร้อยกรองจากหนังสือวันเด็กแห่งชาติ (พ.ศ.2508-2562). ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 ประจำปีการศึกษา 2563 วันศุกร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564 ณ อาคารอเนกประสงค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช,38-48.
  ภุชงค์ เสือทอง และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2564). การสร้างความหมายด้านภาพลักษณ์ของผู้ชายที่ไม่สมหวังกับความรักจากวรรณกรรมเพลงของ “เสก โลโซ”. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ และนานาชาติ ครั้งที่ 12 (หน้า 342-355). วันศุกร์ที่ 25 มิถุนายน 2564 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา.
  พัชรา นาคแก้ว พัชลินจ์ จีนนุ่น ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์. (2564). พฤติกรรมตัวละครเชิงจิตวิทยาในวรรณกรรมของอรุณวดี อรุณมาศ. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 ประจำปีการศึกษา 2563 วันศุกร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564 ณ อาคารอเนกประสงค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช,1-10.
  ปภัสรา แก้วสี มาโนช ดินลานสกูล พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2564). นิเวศสำนึกกับวาทกรรมการพัฒนาในวรรณกรรมเยาวชนที่ได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียว (พ.ศ.2550-2559) ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 ประจำปีการศึกษา 2563 วันศุกร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564 ณ อาคารอเนกประสงค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช,11-19.
  จิราพร สอนนำ พัชลินจ์ จีนนุ่น และปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์. (2564). ภาพลักษณ์ส่วนบุคคลของตัวละครชายรักชายในนวนิยายวาย ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 ประจำปีการศึกษา 2563 วันศุกร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564 ณ อาคารอเนกประสงค์ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคใต้ อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช,49-58.
  อรบุษย์ บุษย์เพชร และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2564). การประกอบสร้างภาพลักษณ์ของผู้หญิงสมัยใหม่ในวรรณกรรมเพลงของจ๊ะ อาร์สยาม. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ และนานาชาติ ครั้งที่ 12 (หน้า 328-341). วันศุกร์ที่ 25 มิถุนายน 2564 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา.
  วัลภา พรหมบุญแก้ว พัชลินจ์ จีนนุ่น และพรพันธุ์ เขมคุณาศัย.(2563).ภาพสะท้อนทางสังคมวัฒนธรรมจากวรรณกรรมประเภทนิยายท้องถิ่นภาคใต้ (พ.ศ. 2481-2504). งานประชุมวิชาการระดับชาติ มศว วิจัย ครั้งที่ 13 ชั้น 20 ห้องประชุมสถาบันยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัยอาคารนวัตกรรม ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี วันที่ 26 มีนาคม 2563, 911-919.
  ทัศศิยาภรณ์ สุขสง พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2563). ารสืบทอดเรื่องเล่าเกี่ยวกับนางเลือดขาวในบริบทสมัยใหม่. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 11 วันที่ 17 กรกฎาคม 2563, group 6 ณ https://meet.google/men-gmuk-cmk, 339-347.
  สุนันทา ทองงาม พัชลินจ์ จีนนุ่น และสมิทธ์ชาต์ พุมมา. (2563). ตัวละครไร้บ้านในวรรณกรรมแปลของเจมส์ โบเวน. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติทางภาษาไทยวรรณกรรม และการสอนภาษาไทย ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3 วันที่ 16 พฤษภาคม 2563 ผ่านระบบออนไลน์ cisco webex,ห้องที่ 2 LI-TH02. 285-296.
  ภัทรานิษฐ์ อ่ำปลอด พัชลินจ์ จีนนุ่น และมาโนช ดินลานสกูล. (2563). ภาพสะท้อนสังคมและกลวิธีการนำเสนอเรื่องสั้นชุด พันธุ์พื้นเมือง ของ อัตถากร บำรุง. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติทางภาษาไทยวรรณกรรม และการสอนภาษาไทย ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3 วันที่ 16 พฤษภาคม 2563 ผ่านระบบออนไลน์ cisco webex ,ห้องที่ 2 LI-TH02. 297-309.
  น้ำฝน ทองพงษ์ พัชลินจ์ จีนนุ่น ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์. (2563). กลวิธีการสร้างนวนิยายจากแอปพลิ เคชันจอยลดา. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติทางภาษาไทยวรรณกรรม และการสอนภาษาไทย ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3 วันที่ 16 พฤษภาคม 2563 ผ่านระบบออนไลน์ cisco webex, ห้องที่ 3 LI-TH03. 363-377.
  สุทธิพงษ์ งามสง่า พัชลินจ์ จีนนุ่น และวราเมษ วัฒนไชย. (2563). การโหยหาอดีตในกวีนิพนธ์รางวัลเซเว่น บุ๊คอวอร์ด ประจำปี 2558-2562. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติทางภาษาไทยวรรณกรรม และการสอนภาษาไทย ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3 วันที่ 16 พฤษภาคม 2563 ผ่านระบบออนไลน์ cisco webex, ห้องที่ 3 LI-TH03. 378-386.
  ชาญวิทย์ กล้าคง พัชลินจ์ จีนนุ่น สมิทธ์ชาต์ พุมมา. (2563). พฤติกรรมของตัวละครเอกที่มีปมปัญหาทางจิตในนวนิยายของทมยันตี. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติทางภาษาไทยวรรณกรรม และการสอนภาษาไทย ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3 วันที่ 16 พฤษภาคม 2563 ผ่านระบบออนไลน์ cisco webex, ห้องที่ 3 LI-TH03. 310-317.
  อนันตญา เศษสุวรรณ มาโนช ดินลานสกูล และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2563). กลวิธีการสร้างตัวละคร “ข้าของแผ่นดิน” ในนวนิยายอิงประวัติศาสตร์ เรื่อง ข้าบดินทร์ ของ วรรณวรรธน์ ใน การประชุมวิชาการระดับชาติทางภาษาไทยวรรณกรรม และการสอนภาษาไทย ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3 วันที่ 16 พฤษภาคม 2563 ผ่านระบบออนไลน์ cisco webex,ห้องที่ 2 LI-TH02. 328-339.
  วรรณวิศา เพ็ชรจรูญ วราเมษ วัฒนไชย และพัชลินจ์ จีนนุ่น . (2563). ศึกษาแนวคิดและกลวิธีการนำเสนอแนวคิดเรื่องกรรมในนวนิยายเรื่อง กรงกรรม ของ จุฬามณี. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติทางภาษาไทยวรรณกรรม และการสอนภาษาไทย ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3 วันที่ 16 พฤษภาคม 2563 ผ่านระบบออนไลน์ cisco webex, ห้องที่ 3 LI-TH03. 411-424.
  จิตติวรรณ ยมรัตน์ ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์ และพัชลินจ์จีนนุ่น. (2563). ศึกษาตัวละครในวรรณกรรมเยาวชนประเภทแฟนตาซี เรื่อง Boys & A Doll ของ Dr.POP ใน การประชุมวิชาการระดับชาติทางภาษาไทยวรรณกรรม และการสอนภาษาไทย ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 3 วันที่ 16 พฤษภาคม 2563 ผ่านระบบออนไลน์ cisco webex, ห้องที่ 3 LI-TH03. 436-447.
  ภูริณัฐ พฤกษ์เนรมิต พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2563). ผู้หญิงกับการใช้หลักธรรมาภิบาลในวรรณกรรมท้องถิ่นภาคใต้ เรื่องจันทคาดคำกาพย์. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 11 วันที่ 17 กรกฎาคม 2563 group 6 ณ https://meet.google/men-gmuk-cmk, 348-355.
  อัษฏาวุธ ไชยวรรณ พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2563). บทไหว้ครูในหนังสือภาคใต้เล่มเล็กยุคการพิมพ์ (พ.ศ.2470-2520) : จาก “ขนบ” สู่การปรับปรนให้เข้ากับบริบทภาคใต้ยุคพัฒนา. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 11 วันที่ 17 กรกฎาคม 2563 group 6 ณ https://meet.google/men-gmuk-cmk, 356-366.
  อธิภัทร เอิบกมล พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2563). วรรณกรรมพยากรณ์ชะตาชีวิตประเภทศาสตราและใบเซียมซี: ลักษณะคำพยากรณ์ การอ้างอิง และโลกทัศน์ของชาวใต้. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 11 วันที่ 17 กรกฎาคม 2563 group 6 ณ https://meet.google/men-gmuk-cmk, 331-338.
  มนชิดา หนูแก้ว พัชลินจ์ จีนนุ่น ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์. ลีลาภาษาในนวนิยายของรอมแพง. การประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต 2019 ครั้งที่ 4 "ศาสตร์พระราชา พัฒนาคุณภาพชีวิต นวัตกรรมเพิ่มผลผลิต ส่งเสริมเศรษฐกิจด้วยงานวิจัย" 14 มิถุนายน 2562 ณ Hall 4 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (ถนนสิรินธร), กรุงเทพมหานคร, 1113-1121.
  เบญจพร ฉิมเมือง สมิทธ์ชาต์ พุมมา อลิสา คุ่มเคี่ยม พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2562, มกราคม-มิถุนายน). ภาพสะท้อนทางสังคมวัฒนธรรมของชาวใต้ในนิทานพื้นบ้าน จากสารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคใต้ พ.ศ. 2542. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและวัฒนธรรมศึกษา ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 1 วันที่ 26 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมปาริชาต และอาคารเรียนรวม 1 (อาคาร 15), 304-315.
  คุณัชญ์ สมชนะกิจ พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2562). การใช้สัญญะประกอบการบริภาษในสื่อออนไลน์เฟซบุ๊ก. โครงการประชุมวิชาการระดับชาติ "ดินแดนแฟนตาซี : ความจริงและจินตนาการในสังคมดิจิทัล" คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี วันที่ 23 - 24 สิงหาคม 2562 ณ โรงแรมเซ็นทารา หาดใหญ่, จังหวัดสงขลา.29-43.
  กมลทิพย์ มะโน พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2562). ปรากฏการณ์โหยกาอดีตในภาพยนตร์เรื่องแฟนฉัน. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 10 วันที่ 12 - 13 กรกฎาคม 2562 ณ อาคาร Blue Ocean Hall คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่, 72.82.
  ผุสดี ศรีเมือง พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2562). นิตยสารคู่สร้างคู่สม: ความทรงจำเก่าในโลกสมัยใหม่. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 10 วันที่ 12 - 13 กรกฎาคม 2562 ณ อาคาร Blue Ocean Hall คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่, 24-37.
  ทิฏฐา สุวรรณกิจ พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2562). เวตาล: จากนิทานแห่งปัญญาสู่ปริศนาธรรมการณ์ตูน. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 10 วันที่ 12 - 13 กรกฎาคม 2562 ณ อาคาร Blue Ocean Hall คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่, 12-23.
  ณัฐวดี คมประมูล จินดา วรรณรัตน์ พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2561). แนวคิดตามรอยพระยุคลบาทในหลวงรัชกาลที่ ๙ ของสุเมธ ตันติเวชกุล. การประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต 2019 ครั้งที่ 4 "ศาสตร์พระราชา พัฒนาคุณภาพชีวิต นวัตกรรมเพิ่มผลผลิต ส่งเสริมเศรษฐกิจด้วยงานวิจัย" 14 มิถุนายน 2562 ณ Hall 4 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (ถนนสิรินธร), กรุงเทพมหานคร,1312-1319.
  จินดา วรรณรัตน์ พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2562). ศึกษาคุณค่าในงานเขียนของสุเมธ ตันติเวชกุล. การประชุมวิชาการระดับชาติสวนดุสิต 2019 ครั้งที่ 4 "ศาสตร์พระราชา พัฒนาคุณภาพชีวิต นวัตกรรมเพิ่มผลผลิต ส่งเสริมเศรษฐกิจด้วยงานวิจัย" 14 มิถุนายน 2562 ณ Hall 4 อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต (ถนนสิรินธร), กรุงเทพมหานคร, 959-967.
  ปาริชาติ แก้วนวน มาโนช ดินลานสกูล พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2562). สังคมอุดมคติในนวนิยายเรื่องเมืองอนัตตา ของ ชัชรินทร์ ไชยวัฒน์. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและวัฒนธรรมศึกษา ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 2 วันที่ 22 พฤษภาคม 2562 ณ หอประชุมปาริชาต และอาคารเรียนรวม 1 (อาคาร 15), 337-348.
  อัษฎาวุธ ไชยวรรณ วราเมษ วัฒนไชย พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2562). สัจนิยมมหัศจรรย์ในนวนิยายเรื่อง หมาหัวคนของวิภาส ศรีทอง. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและวัฒนธรรมศึกษา ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 2 วันที่ 22 พฤษภาคม 2562 ณ หอประชุมปาริชาต และอาคารเรียนรวม 1 (อาคาร 15), 193-205.
  พัชวรรณ ด้วงสุข พัชลินจ์ จีนนุ่น วราเมษ วัฒนไชย. (2562). ภาพลักษณ์ผู้หญิงดีในภารตนิยาย ของ ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและวัฒนธรรมศึกษา ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 2 วันที่ 22 พฤษภาคม 2562 ณ หอประชุมปาริชาต และอาคารเรียนรวม 1 (อาคาร 15), 321-336
  ทัศศิยาภรณ์ สุขสง พัชลินจ์ จีนนุ่น ศรีอังคาร ถาวโรฤทธิ์. (2562). ศึกษาภาพสะท้อนสตรีเกาหลีผ่านการสร้างตัวละครคิมจียอง ในวรรณกรรมเกาหลี เรื่อง คิมจียอง เกิดปี 82 ของ Cho Nam Joo. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและวัฒนธรรมศึกษา ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 2 วันที่ 22 พฤษภาคม 2562 ณ หอประชุมปาริชาต และอาคารเรียนรวม 1 (อาคาร 15), 311-320.
  ฮูด้า บินหมัด พัชลินจ์ จีนนุ่น อลิสา คุ่มเคี่ยม. (2562). วิเคราะห์พฤติกรรมตัวละครเด็กเชิงจิตวิทยาในวรรณกรรมเยาวชนเรื่องชีวิตมหัศจรรย์ของออกัสต์ ของ อาร์ เจ ปาลาซิโอ. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและวัฒนธรรมศึกษา ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 2 วันที่ 22 พฤษภาคม 2562 ณ หอประชุมปาริชาต และอาคารเรียนรวม 1 (อาคาร 15), 255-267
  ดวงลดา ขวัญนิมิตร พัชลินจ์ จีนนุ่น ปริยากรณ์ ชูแก้ว. (2562). กลวิธีการนำเสนอนวนิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่องข้ามสมุทรของ วิษณุ เครืองาม. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและวัฒนธรรมศึกษา ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 2 วันที่ 22 พฤษภาคม 2562 ณ หอประชุมปาริชาต และอาคารเรียนรวม 1 (อาคาร 15), 241-254.
  จินดา วรรณรัตน์ จริญญา ธรรมโชโต พัชลินจ์ จีนนุ่น ฉันทัส ทองช่วย. (2562). ลีลาการใช้ถ้อยคำในงานเขียนเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ของสุเมธ ตันติเวชกุล. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 29 ภายใต้หัวข้อ : วิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ณ โรงแรมสยามออเรียนทัล อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา วันที่ 9-10 พฤษภาคม 2562,646-657
  ชัชชาภรณ์ สุวัฒน์กุล พัชลินจ์ จีนนุ่น จารึก จันทร์วงศ์ วราเมษ วัฒนไชย. (2562, มกราคม-มิถุนายน). ภาพแทนของพระเจ้าปราสาททองในนวนิยายอิงประวัติศาสตร์เรื่อง เจ้าไล ของคึกเดช กันตามระ. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและวัฒนธรรมศึกษา ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 1 วันที่ 26 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมปาริชาต และอาคารเรียนรวม 1 (อาคาร 15), 30-38.
  นวพร สายไหม พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2562). มโนทัศน์เกี่ยวกับเรือนร่างของผู้หญิงในวรรณกรรมภาคใต้. การประชุมวิชาการระดับชาติพหุวิทยาการแห่งภาษา วรรณกรรมและคติชนวิทยา: วิถีไทย วิถีอาเซียน ครั้งที่ 1” ณ อาคารบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง วันที่ 20 ธันวาคม 2562, 114-125.
  ณัฐพร เลพล พรพันธุ์ เขมคุณาศัย พัชลินจ์ จีนนุ่น ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์. (2562, มกราคม-มิถุนายน). สถานภาพการวิจัยวรรณกรรมท้องถิ่นในรอบ 30 ปี (พ.ศ.2527 – พ.ศ.2557). ใน การประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและวัฒนธรรมศึกษา ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 1 วันที่ 26 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมปาริชาต และอาคารเรียนรวม 1 (อาคาร 15), 282-292.
  อภิชญา ญาดาพัชร์ พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2562). ลูกแม่น้ำโขง: การถวิลหามิตรภาพที่แสนหวานในวรรณกรรมเยาวชนของไทย. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 10 วันที่ 12 - 13 กรกฎาคม 2562 ณ อาคาร Blue Ocean Hall คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่, 49.60.
  ตัสนีม อาลี พัชลินจ์ จีนนุ่น วราเมษ วัฒนไชย. (2562). ไกรทอง: จากนิทานสู่การ์ตูนทางไทรทัศน์ช่อง 3. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 10 วันที่ 12 - 13 กรกฎาคม 2562 ณ อาคาร Blue Ocean Hall คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่, 38-48.
  ชีวรัตน์ คุ้มครอง พรพันธุ์ เขมคุณาศัย พัชลินจ์ จีนนุ่น ปรียารัตน์ เชาวลิตประพันธ์. (2562, มกราคม-มิถุนายน). สถานภาพการวิจัยวรรณศิลป์ประเภทภาพพจน์ในรอบ 32 ปี (พ.ศ.2528 – พ.ศ.2559). ใน การประชุมวิชาการระดับชาติทางด้านภาษาไทยและวัฒนธรรมศึกษา ระดับปริญญาตรี ครั้งที่ 1 วันที่ 26 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมปาริชาต และอาคารเรียนรวม 1 (อาคาร 15), 62-68.
  วัลภา พรหมบุญแก้ว พัชลินจ์ จีนนุ่น และพรพันธุ์ เขมคุณาศัย. (2561). "การสร้างสรรค์เนื้อหาในวรรณกรรมประเภทนิยายท้องถิ่นภาคใต้ (พ.ศ. 2481 - 2504)," ใน รายงานการจัดประชุมทางวิชาการครั้งที่ 56 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (หน้า 766-774). วันที่ 30 มกราคม 2561 - 2 กุมภาพันธ์ 2561. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
  จินดา วรรณรัตน์ พัชลินจ์ จีนนุ่น และวราเมษ วัฒนไชย. (2561). "สถานภาพองค์ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาภาษาในงานวิทยานิพนธ์ไทยช่วงทศวรรษ พ.ศ. 2550-2560," ใน รายงานการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 9. (หน้า 88-90). วันที่ 20 – 21 กรกฎาคม 2561 ณ อาคาร Blue Ocean Hall คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ สงขลา : มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
  ธนภัทร เต็มรัตนะกุล พัชลินจ์ จีนนุ่น เชิดศักดิ์ เกื้อรักษ์ และนพดล สาลีโภชน์. (2561). "แนวทางการสื่อสารความรู้ในโครงการวิจัยแบบกลุ่มวิชาการ ฯ.," ใน รายงานการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 10 “ถักทองานวิจัยท้องถิ่น.....ก้าวไกลสู่สากล”. (หน้า 341 - 354). วันที่ 7-8 สิงหาคม 2561. ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา นครราชสีมา : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
  ณัฐวดี คมประมวล จริญญา ธรรมโชโต และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2561). "วัจนกรรมในการให้คำปรึกษาเรื่องความรักในคอลัมน์คนดังนั่งเขียนของดีเจพี่อ้อย," ใน รายงานการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 9. (หน้า 119 - 130). วันที่ 20 – 21 กรกฎาคม 2561 ณ อาคาร Blue Ocean Hall คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ สงขลา : มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
  วรรณิศา จุ้ยน้อย และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2561). "มอม: การดัดแปลงเรื่องสั้นสู่บทละครโทรทัศน์," ใน รายงานการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 9. (หน้า 151 -164). วันที่ 20 – 21 กรกฎาคม 2561 ณ อาคาร Blue Ocean Hall คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ สงขลา : มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
  ฐานันท์ ศรีเทพ และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2561). "กากี : จากวรรณคดีคำกลอนสู่ภาพยนตร์เรื่อง “กากีสหัสวรรษ”," ใน รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ “การเรียนรู้เชิงรุก” ครั้งที่ 6 : Active Learning ตอบโจทย์ Thailand 4.0 อย่างไร. (หน้า 482 -492). วันที่ 26- 27 มีนาคม 2561 ณ อาคารเรียนรวม 1 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
  อนุวัฒน์ มากชูชิต และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2561). "ชาร์ล็อตต์ แมงมุมเพื่อนรัก: จากวรรณกรรมเยาวชนสู่ภาพยนตร์," ใน รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ “การเรียนรู้เชิงรุก” ครั้งที่ 6 : Active Learning ตอบโจทย์ Thailand 4.0 อย่างไร. (หน้า 493 -501). วันที่ 26- 27 มีนาคม 2561 ณ อาคารเรียนรวม 1 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นครศรีธรรมราช : มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
  ฉัตรปกรณ์ กำเหนิดผล พรพันธุ์ เขมคุณาศัย และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2561). พลวัตของวรรณกรรมหนังตะลุงเรื่องรามเกียรติ์ร่วมสมัยของคนรอบลุ่มทะเลสาบสงขลา (ประมาณ พ.ศ. 2407-2010). ใน การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 15 วันที่ 6-7 ธันวาคม 2561 ณ อาคารศูนย์เรียนรวม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน นครปฐม, 1150-1159.
  นิยา บิลยะแม มาโนช ดินลานสกูล และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2561). "กลวิธีทางภาษาในสารคดีเชิงสถานที่ของเอนก นาวิกมูล," ใน รายงานการจัดประชุมทางวิชาการครั้งที่ 56 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (หน้า 732-740). วันที่ 30 มกราคม 2561 - 2 กุมภาพันธ์ 2561. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
  ณัฐวดี คมประมวล จริญญา ธรรมโชโต และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2561). กลวิธีทางภาษาในการให้คำปรึกษาเรื่องความรักในคอลัมน์คนดังนั่งเขียนของดีเจพี่อ้อย. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 15 วันที่ 6-7 ธันวาคม 2561 ณ อาคารศูนย์เรียนรวม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน นครปฐม, 1091-1100.
  นิยา บิลยะแม มาโนช ดินลานสกูล และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2561). "การประกอบสร้างเนื้อหาสารคดีเชิงสถานที่ของเอนก นาวิกมูล," ใน รายงานการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 9. (หน้า 42 -54). วันที่ 20 – 21 กรกฎาคม 2561 ณ อาคาร Blue Ocean Hall คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ สงขลา : มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
  จตุพร เจริญพรธรรมา มาโนช ดินลานสกูล พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2560). "ภาพลักษณ์ของผู้สูงอายุในนวนิยายของชมัยภร แสงกระจ่าง," ใน รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติทางศิลปศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 6. (หน้า 90 -98). วันที่ 19 พฤษภาคม 2560 ณ อาคารหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ชั้น 7 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
  ชญาดา ชูชัยสิงหะกุล มาโนช ดินลานสกูล พัชลินจ์ จีนนุ่น. (2560). "นิเวศสำนึกแบบดั้งเดิมในนวนิยายของอุดม วิเศษสาธร," ใน รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติทางศิลปศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 6. (หน้า 99 -105). วันที่ 19 พฤษภาคม 2560 ณ อาคารหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ชั้น 7 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง กรุงเทพฯ : สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
  Jatuporn Jaroenpornthunma Manoch Dinlansagoon and Phatchalin Jeennoon. (2017). Elderly Characters in Chamaiporn Saengkrachang’s Novels: Roles of Literature in the Presentation of the Image of The Elderly that is of Value in Thai society. In Proceeding National Institute of Development Administration (NIDA) International Conference for Case Studies on Development Administration 2017 (NIDA-ICCS 2017) Friday, September 8, 2017:168-180.
  Chayada Choochaisinghakul Manoch Dinlansagoon and Phatchalin Jeennoon. (2017). "The Value of Ecological Conscience in Udom Wisetsathon’s Novels: Integration of Knowledge for Education Management amid Nature and Environment Crisis," In Proceeding National Institute of Development Administration (NIDA) International Conference for Case Studies on Development Administration 2017 (NIDA-ICCS 2017). (pp. 152- 167). September 8, 2017. Bangkok : Institute of Development Administration.
  รื่นฤทัย รอดสุวรรณ พรพันธุ์ เขมคุณาศัย และพัชลินจ์ จีนนุ่น. (2559). "สถานภาพงานวิจัยโนราในรอบสามทศวรรษ (พ.ศ. 2532 - 2558)," ใน รายงานการประชุมรัฐ คนไท/ไทยชายแดนและทิศทางใหม่ๆในไทยศึกษา การประชุมวิชาการประจำปี 2559 คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (หน้า 362 - 376). วันที่ 19 สิงหาคม 2559. ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.